ข้อสอบ PAT เคมี / เคมี สามัญ /ข้อบเข้ามหาวิทยาลัย เรื่อง ไฟฟ้าเคมี นักเรียนหาข้อสอบคนละ 20 ข้อ ห้ามซ้ำกัน พร้อมเฉลยอย่างละเอียด โพสต์ใต้ข้อความนี้ หมดเขต 20 ก.พ.61

ความคิดเห็น

  1. ข้อ1 กำหนดค่า E0 ให้ดังนี้
    ครึ่งปฏิกริยา E0 (V) X+ + e- X -0.22 Y+ + e- Y -0.18 ผ ลการทดลองต่อไปนี้ ข้อใดถูกต้อง
    ก. เมื่อจุ่มโลหะ Y ลงในภาชนะบรรจุส.ล.ล XCl จะมีโลหะ X มาเกาะบน แท่ง Y
    ข. เมื่อจุ่มโลหะ X ลงในภาชนะบรรจุส.ล.ล YCl จะไม่เห็นการเปลี่ยนแปลง
    ค. เมื่อจุ่มโลหะ Y ลงในภาชนะบรรจุส.ล.ล HCl จะมแีก๊สไฮโดรเจนเกิดขึน้
    ง. เมื่อจุ่มโลหะ X ลงในภาชนะบรรจุส.ล.ล HCl จะไม่เห็นการเปลยี่นแปลง
    ตอบ ค
    ข้อ2 จาก E0 การเรียงลา ดับไอออนที่มี ความสามารถในการรับอเิลก็ตรอน จากมากไปน้อย ข้อใดถูกต้อง
    ก. Al3+ > Fe2+ > Cr3+
    ข. Fe2+ > Al3+ > Ni3+
    ค. Ni2+ > Fe2+ > Cr3+
    ง. Cr3+ > Al3+ > Ni2
    ตอบ ค
    คำ ชี้แจง สมการของปฏิกริยาต่อไปนี้ใช้ในการตอบคา ถาม ข้อ 3-5
    สมการ 1. 2Al + 3X2+  2Al3+ + 3X E0cell = 0.95 โวลล์
    สมการ 2. X + Y2+  X2+ + Y E0cell = 0.64 โวลล์
    ข้อ3. เซลล์ไฟฟ้า Al | Al3+ || Y2+ | Y มีค่าความต่างศักย์เท่าใด
    ก. 2.87 โวลล์
    ข. 1.55 โวลล์
    ค. 1.59 โวลล์
    ง. 0.31 โวลล์
    ตอบ ค
    ข้อ4 ธาตุ X และY ควรเป็นธาตุใดตามลำดับ
    ก. Zn, Fe ข. Sn, Pb ค. Zn, Pb ง. Pb, Zn
    ตอบ ค
    ข้อ5 ข้อใดสรุปไม่ถูกต้อง
    ก. X ไม่สามารถให้อิเล็กตรอนแก่ Al3+ แต่ X สามารถให้อเล็กตรอนแก่ Y2+
    ข. ครึ่งเซลล์ X ทำหน้าที่เป็นแคโทดใน สมการ 1 และเป็นแอโนดในสมการ2
    ค. ครึ่งเซลล์ X ทา หน้าที่เป็นแอโนดใน สมการ 1 และเป็นแคโทดในสมการ2
    ง. ปฏิกริิยาที่แสดงในสมการ 1 และ 2 สามารถเกดิขึน้ได้เอง
    ตอบ ค
    ข้อ6 ค่า E0 ของเซลล์ไฟฟ้าเคมนีี้เท่ากับเท่าใด
    Hg(l) | Hg 22+ (l mol/l) || Br- (l mol/l) |Br2(l) | Pt(s)
    ก. 1.20 V ข. 1.07 V ค. 0.41 V ง. 0.28 V
    ตอบ ง

    ข้อ7 Hg(l) | Hg22+ (l mol/l) || Br- (l mol/l) |Br2(l) | Pt(s)
    ปฏิกริิยาเคมีที่เกิดขนึ้ในเซลล์ไฟฟ้าเคมีนี้คือ
    ก. Br2(l) + 2Hg(l)  2Br-(aq) + Hg22+ (aq)
    ข. Pt2+(aq) + 2Hg(l)  Pt(s) + Hg22+ (aq)
    ค. Pt2+(aq) + 2H+(aq)  Pt(s) + H2 (g)
    ง. Br2(l) + 2H +(aq)  2Br-(aq) + H2 (g)
    ตอบ ก



    ข้อ 8ปฏิกริิยาต่อไปนีข้อใดเกดิขึน้เองได้
    ก. Sn(s) + Ni2+(aq)  Sn2+(aq) + Ni(s)
    ข. Sn(s) + Zn2+(aq)  Sn2+(aq) + Zn(s)
    ค. Ni(s) + Sn2+(aq)  Ni2+(aq) + Sn(s)
    ง. Ni(s) + Zn2+(aq)  Ni2+(aq) + Zn(s)
    ตอบค
    ข้อ 9 กำ หนดค่า EO ของครึ่งเซลล์ต่อไปนี้
    a. Au+(aq) Au(s) E0 = +1.68 V
    b . Ag+ + e- Ag(s) E0 = +0.80 V
    c. Cu2+(aq) + 2e- Cu(s) E0 = +0.34 V
    d. 2H+(aq) + 2e- H2(g) E0 = 0.00 V
    e. Co2+(aq) + 2e- Co(s) E0 = -0.28 V 45.
    ครึ่งเซลล์คู่ใดที่เมื่อต่อกันแล้ว จะมีค่าความต่างศักย์ = +1.08 โวลต์
    ก. a กับ c
    ข. b กับc
    ค. c กับ e
    ง. b กับ e
    ตอบ ง





    ข้อ10 กำหนดค่า E0 ของโลหะ A และ B ดังนี้
    A 3+(aq) + 3e- A(s) E0 = -1.66 V
    B 2+(aq) + 2e- B(s) E0 = -0.13 V
    เมื่อจุ่มโลหะ A ในสารละลาย B (II) ไนเตรท ดังรูป แล้วปล่อยทิ้งไว้ ข้อความใดถูกต้อง
    1) เกดิโลหะ B เกาะที่แผ่นโลหะ A
    2) สมการไอออนิกคือ 2A(s) + 3B2+(aq) 2A3+(aq) + 3B(s)
    3) ค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าของเซลล์ = +1.79 โวลต์
    ก.ข้อ 1 และ 2
    ข.ข้อ 1 และ 3
    ค.ข้อ 2 และ 3
    ง. ข้อ 1, 2 และ 3
    ตอบ ก


    นางสาว จิดาภา มาตะยา เลขที่ 8 ม.5/1

    ตอบลบ
  2. ข้อ11 กำหนดค่า E0 ของเซลล์เป็นดังนี้
    Ag+ + e- Ag E0 = 0.80 V
    Fe2+ + 2e- Fe (s) E0 = -0.44 V
    ถ้านำครึ่งเซลล์ Fe (s) | Fe2+ (aq) กบัครึ่งเซลล์ Ag (s) | Ag (aq) มาต่อกันเป็นเซลล์กลัวานิก จะได้ศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของเซลล์คู่นี้เท่าใด
    ก. 1.24 V ข. 2.07 V ค. 0.69 V ง. 0.47 V
    ตอบ ก
    ข้อ12 ข้อความต่อไปนี ้ข้อใดไม่เกยี่วกบัเรื่องเซลล์เชื้อเพลิงไฮโดรเจน-ออกซิเจน
    ก. เกดิปฎกิริิยารีดอกซ์
    ข. เปลยี่นพลงังานปฎกิริิยาเคมเีป็นพลงังานไฟฟ้า
    ค. มีการผ่านสารตั้งต้นที่ขั้วแคโทดและแอโนดอย่างสม่ำเเสมอ
    ง. ปฎกิริยาที่เกิดขึน้ที่ขั้วแคโทดจะให้ก๊าซไฮโดรเจน และที่ข้ัวแอโนดให้ก๊าซออกซิเจน
    ตอบ ง
    ข้อ13 ข้อใดต่อไปนี้ อธิบายเกี่ยวกับแบตเตอรี่ได้ถูกต้อง
    ก. ขณะจ่ายไฟ ค่าศักย์ไฟฟ้าของแต่ละเซลล์ในแบตเตอรี่มคี่าคงที่
    ข.ขณะจ่ายไฟ สารทเี่ข้าทา ปฎกิริิยาเป็นสารชนิดเดยีวกนั
    ค. ตวัรีดวิซ์มกีารเปลยี่นแปลงค่าเลขออกซิเดชันเท่ากับ 4
    ง. ระดับความเข้มข้นของกรดมีผลต่อศักย์ไฟฟ้าของเซลล์
    ตอบ ง
    ข้อ 14 สิ่งใดไม่ควรปฏิบัติในการชุบโลหะด้วยไฟฟ้า
    ก. ใช้ของที่จะชุบเป็นแคโทดหรือขั้วลบของเซลล์
    ข. ในสารละลายอิเลก็โทรไลต์มีไอออนของโลหะที่จะชุบ
    ค. ใช้กระแสไฟตรง
    ง. ใช้โลหะที่จะชุบเป็นแคโทดหรือขั้วลบของเซลล์
    ตอบ ง
    ข้อ15 ข้อใด ไม่ถูกต้อง เมื่อต้องการชุบแท่งเหล็กด้วยโครเมียม
    ก. ใช้โลหะโครเมียมเป็นแอโนดหรือเป็นขั้วบวก
    ข. ใช้แท่งเหล็กเป็นแคโทดหรือเป็นขั้วลบ
    ค. สารละลายอิเลก็โทรไลต์ต้องมีไอออนของโครเมียม
    ง. ใช้โลหะโครเมียมเป็นแคโทดหรือเป็นขั้วลบ
    ตอบ ง


    ข้อ16 ถ้าต้องการจะชุบสังกะสีด้วยเงิน ควรจัดการทดลองดังข้อใด
    ก. สังกะสีเป็นแอโนด เงินเป็นแคโทด สารละลาย Ag+ เป็นอิเลก็โทรไลต์
    ข. สังกะสีเป็นแอโนด เงินเป็นแคโทด สารละลาย Zn2+ เป็นอิเลก็โทรไลต์
    ค. เงินเป็นแอโนด สังกะสีเป็นแคโทด สารละลาย Zn2+ เป็นอิเลก็โทรไลต์
    ง. เงินเป็นแอโนด สังกะสีเป็นแคโทด สารละลาย Ag+ เป็นอิเลก็โทรไลต์
    ตอบ ง
    ข้อ17 ทองแดงที่ถลุงได้จากสินแร่ เมื่อทำให้บริสุทธิ์โดยใช้หลักการ ของอิเลก็โทรลิติก ข้อความต่อไปนีข้้อใดผิด
    ก. ทองแดงถลุงเป็นแอโนดและทองแดงบริสุทธิ์เป็นแคโทด
    ข. สารเจือปนในทองแดงถลุงควรมีความสามารถเป็นตัวรีดวิซ์หรือ ตัวออกซิไดส์แตกต่างจากทองแดงมากพอสมควร
    ค. สารเจือปนในทองแดงถลุงที่ถูกออกซิไดส์ได้ยากกว่าทองแดงจะตกตะกอนอยู่ก้นภาชนะเซลล์
    ง. ส.ล.ลในเซลล์เป็นอิเลก็โทรไลต์อะไรก็ได้เช่น CuSO4,ZnSO4, H2SO4
    ตอบ ง
    ข้อ 18 โมเลกุลหรือไอออนใดในสมการนี้ เป็นตัวออกซิไดส์
    As2S3+H++NO3-+H2O H3AsO4+NO+ S (สมการยังไม่ดุล)
    ก. As2S3 ข. H+ ค. NO3- ง. H2O
    ตอบ ค
    ข้อ19 การป้องกันการผุกร่อนของตะปูเหล็กวิธีใด ไม่ถูกต้อง
    ก. น าตะปูต่อเข้ากับขั้วบวกของถ่านไฟฉาย ข. น าตะปูไปทำอะโนไดซ์
    ค. น าตะปูไปทำแคโทดิก ง. น าตะปูไปทำรมดำ
    ตอบ ข



    ข้อ 20คำชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ตอบคำถามข้อ20
    1. 2D+ + 2e- D2 (g) E0 = -0.003 V
    2. O2(g) + 4H+ + 4e- 2H2O E0 = 1.23 V
    3. Ca2+ + 2e- Ca(s) E0 = -2.87 V
    4. ClO-4 + 8H+ + 7e- ½Cl2(g) + 4H2O E0 = 1.55 V
    5. 2H2O + 2e- H2(g) + 2OH- E0 = -0.83 V
    6. O2(g) + 2H2O + 4e- 4OH- E0 = 0.40 V
    ในเซลล์เชื้อเพลงิไฮโดรเจน-ออกซิเจน ครึ่งปฏิกริิยา ที่แต่ละขั้วของอิเล็กโทรดที่ถูกต้องคือข้อใด
    ก. 5 เกิดที่แคโทด และ 6 เกิดที่แอโนด
    ข. 5 เกิดที่แอโนด และ 2 เกิดที่แคโทด
    ค. 5 เกิดที่แอโนด และ 6 เกิดที่แคโทด
    ง. 5 เกิดที่แคโทด และ 6 เกิดที่แอโนด
    ตอบ ค

    ตอบลบ
  3. 1.ผลรวมของเลขออกซิเดชันของธาตุแทรนซิชันคู่ใดมีค่าต่ำที่สุด
    ก.|FeSCN|2+ กับ |Ni(NH3)6|Br2
    ข.|Fe(CN)6|3- กับ |Cu(NH3)4|SO4
    ค.K4|Ni(CN)4| กับ K3|Fe(CN)6|
    ง.K4|Fe(CN)4| กับ |CoCl(NH3)52+
    ตอบ ค.
    2.ธาตุคาร์บอนคู่ที่มีค่าเลขที่ออกซิเดชันแตกต่างกันน้อยที่สุดเป็นโมเลกุลในข้อใด
    ก.CH3CH2MgB
    ข.CH3CHO
    ค.CH3CN
    ง.CH3CH2Cl
    ตอบ ก.
    3.เลขออกซิเดชันของคาร์บอนในหมู่คาร์บอกซิลิกในกรด HOOC(CH2)3COOH มีค่าเท่าใด
    ก.1
    ข.2
    ค.3
    ง.4
    ตอบ ค.
    4.ปฏิกิริยามีในข้อใดต่อไปนี้เป็นปฏิกิริยาประเภทรีดอกซ์อย่างแน่นอน
    ก.เมื่อผสมสารละลายสองชนิดที่มีตะกอนเกิดขึ้น
    ข.เมื่อกรดซัลฟิวริกแตกตัวเป็นไอออนในน้ำ
    ค.เมื่อกรดซัลฟิวริกทำปฏิกิริยาสะเทินกับโซเดียมไฮดรอกไซด์
    ง.เมื่อสารประกอบบางชนิดทำปฏิกิริยากับกรดแล้วมีแก๊สคลอรินเกิดขึ้น
    ตอบ ง.
    5.ชุบสังกะสีด้วยเงิน ต้องต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบใด
    ก.Pt (s) |H2 (g) || Ag+ (aq) |Ag (s)
    ข.Zn (s) |Zn2+ (aq) || Ag+ (aq) |Ag (s)
    ค.Ag (s) | Ag+ (aq) ||H+ (aq) |H2 (g),Pt (s)
    ง.Ag (s) | Ag+ (aq) || Zn2+ (aq) | Zn (s)
    ตอบ ข.
    6.จากแผนภาพเซลล์ไฟฟ้าต่อไปนี้ ซึ่งมีแรงเคลื่อนไฟฟ้าเท่ากับ +0.80
    Pt|H2(1atm)|H+(1M)||Ag+(1M)|Ag
    ข้อใดระบุค่าศักย์ไฟฟ้ารีดักชันชองสารตั้งต้นได้ถูกต้อง
    ก.H2 0.80 V
    ข.Pt -0.80 V
    ค.Ag+ 0.80 V
    ง.Ag -0.80 V
    ตอบ ค.
    7.เลขออกซิเดชันของคาร์บอนในหมู่คาร์บอกซิลิกในกรด HOOC(CH2)3COOH มีค่าเท่าใด
    ก.1
    ข.2
    ค.3
    ง.4
    ตอบ ค.
    8.การเรียงลำดับธาตุตามความสามารถเป็นตัวรีดิวซ์จากมากไปน้อยเป็นไปตามข้อใด
    ก.Zn,Na,Fe,Cu,Ag
    ข.Ag,Cu,Fe,Zn,NA
    ค.Na,Fe,Zn,Ag,Cu
    ง.Na,Zn,Fe,Cu,Ag
    ตอบ ง.
    9.ถ้าสร้างเซลล์ไฟฟ้าเคมีเหล็ก-ทองแดง
    ก.อิเล็กตรอนไหลจากเหล็กไปยังทองแดง
    ช.เหล็กเป็นแคโทด
    ค.ตังรีดิวซ์คือทองแดง
    ง.ค่าศักย์ไฟฟ้าครึ่งเซลล์มาตรฐานของ Cu|Cu2+ น้อยกว่าของ Fe|Fe2+
    ตอบ ก.
    10.เมื่อใส่โลหะ X ลงในสารละลาย Zn(NO3)2 ปรากฏว่าไม่เกิดการเปลี่ยนแปลง แต่เมื่อใส่โลหะ X ลงในสารละลาย CuSO4 ปรากฏว่ามีโลหะ Cu เกิดขึ้นลำดับความสามารถในการชิงอิเล็กตรอนของไอออนชองธาตุ X,Zn และ Cu จากน้อบไปมากคือ
    ก.X=ZnX>Zn
    ง.Zn<X<Cu
    ตอบ ง.

    ตอบลบ
  4. 11.จากข้อมูลต่อไปนี้
    1.Zn ไม่ทำปฏิกิริยากับน้ำแต่ Na ทำปฏิกิริยารุนแรงกับน้ำ
    2.จุ่ม Cu ลงในสารละลาย AgNO3 สารละลายจะเปลี่ยนเป็นสีฟ้าอ่อน
    3.จุ่ม Zn ลงในสารละลาย CuSO4 สีฟ้าของสายละลายจางจง
    จงเรียงลำดับความสามารถในการเป็นตัวรีดิวซ์จากมากไปน้อย
    ก.Na,Zn,Cu,Ag
    ข.Zn,Na,Cu,Ag
    ค.Cu,Zn,Ag,Na
    ง.Ag,Cu,Zn,Na
    ตอบ ง.
    12.เมื่อจุ่มโลหะ A,B,C และ D แต่ละชนิดลงในสารละลายของโลหะไออนได้ผลการทดลองดังแสดงในตาราง

    โลหะ สารละลายของ
    A2+ B2+ C2+ D2+
    A - - + -
    B - - - -
    C - + - -
    D + + + -

    การเรียงลำดับความแรงของตัวรีดิวซ์ข้อใดถูกต้อง
    ก.B>C>A>D
    ข.C>A>D>B
    ค.D>A>C>B
    ง.A>C>B>D
    ตอบ ค.


    13.ข้อความใดต่อไปนี้ที่ไม่ถูกต้อง
    ก.ปฏิกิริยา Zn+2Ag 2Ag+Zn2+ เกิดขึ้นไม่ได้
    ข.ค่า E0ของเครื่องเซลล์ Fe/Fe2+ น้อยกว่า 0 V
    ค.2Na+2H2O 2NaOH+H2 เป็นปฏิกิริยารีดอกซ์
    ง.ซิลเวอร์ไอออนเป็นตัวออกซิไดซ์คอปเปอร์
    14.เมื่อจุ่มแท่งทองแดงลงในสารละลายซิลเวอร์ไนเตรต ปรากฏว่าที่ทองแดงกร่อน สารละลายกลายเป็นสีฟ้า ข้อใดสรุปได้ถูกต้อง
    ก.Cu ถูกรีดิวซ์โดย Ag+
    ข.Cu ถูกออกซิไดซ์ส่วน Ag+
    ค.ปฏิกิริยารีดอกซ์คือ Cu2+ +2Ag Cu+Ag+
    ง.เกิดกระแสไฟฟ้าไหลจาก Cu ไปยัง Ag
    15.ค่าศักย์ไฟฟ้าครึ่งเซลล์ มาตรฐาน
    Cu2+ +2e- Cu E0=+0.34
    Zn4+ +2e- Zn2+ E0=-0.14
    Fe3+ +3e- Fe E0=-0.04
    Pb2+ 2e- Pb E0=-0.13
    Sn2+ +2e- Sn E0=-0.14
    Fe2+ +2e - Fe E=0-0.44
    กระป๋องดีบุกสามารถบรรจุสารละลายในข้อใดได้ โดยไม่เกิดปฏิกิริยา
    ก.Fe3+
    ข.Fe2+
    ค.Pb2+
    ง.Cu2+
    ตอบ ข
    16.ปฏิกิริยาใดต่อไปนี้ที่เลขออกซิเดชันของ S ไม่เปลี่ยนแปลง
    1.SO2+H2O H2SO3
    2.S+SO32- S2O32-
    3.2H2S+3O2 2SO2+2H2O
    4.Ca(OH)2+SO2 CaSO4+H2O
    ก. 1 และ 2
    ข.2และ 3
    ค.3 และ 4
    ง. 1 และ 4
    จ. 1 เท่านั้น
    ตอบ ก.
    17.KMO4+3H2SO4+5H2S K2SO4+2MnSO4+8H2O+5S เป็นปฏิกิริยาออกซิดักชันเพราะว่า
    ฟ.สีแดงของด่างทับทิมหายไป
    ข.ได้ธาตุกำมะถันออกมา
    ค.S ใน H2SO4 เปลี่ยนออกซิเดชันนัมเบอร์
    ง.Mn ใน KMnO4 เปลี่ยนออกซิเดชันนัมเบอร์
    18.2KMnO4+H2C2O4 K2CO3+2MnO2+5CO2+H2O ข้อความใดเกี่ยวกับปฏิกิริยานี่ถูกต้อง
    ก.Mn เป็นตัวออกซิไดซ์ส่วน C เป็นตัวรีดิวซ์
    ข.KMnO4 ถูกออกซิไดซ์โดย H2C2O4
    ค.H2C2O4 เป็นตัวออกซิไดซ์
    ง.H2C2O4 ถูกออกซไดซ์โดย KMnO4
    ตอบ ง.
    19.ในปฏิกิริยาต่อไปนี้
    I2(s)+2S2O33-(aq) 2I-(aq)+S4O62-(aq)
    1.I21(s)ถูกรีดิวซ์เป็น I-(aq0
    2.I2(s)เป็นตัวรีดิวซ์
    3.S2O32-(aq)เป็นคตัวออกซิไดซ์
    4.เลขออกซิเดชันของกำมะถันไม่เปลี่ยนแปลง
    5.เลขออกซฺเดชันของออกซิเจนเปลี่ยนไป
    ข้อใดถูกต้อง
    ก.1 เท่านั้น
    ข.2 และ 1
    ค.1 และ5
    ง.1 4 และ 5
    ตอบ ก.
    20.ค่าศักย์ไฟฟ้สครึ่งเซลล์มาตรฐาน
    2HClO+2H++2e- Ci2+2H2O E0=+1.63 V
    Pt2++2e- Pt E0=+1.20 V
    PbSo4+2e- Pb+SO2-4 E0=-0.31 V
    ปฏิกิริยาข้อเกิดขึ้นเองไม่ได้
    ก.2HClO+Pt+2H+ Ci2+Pt2++2H2O
    ข.2HCiO+Pb+SO2-4+2H+ Cl2+PbSO42H2O
    ค.PbSO4+Pt+ Pt+Pt2++SO2-4
    ง.เกิดปฏิกิริยาได้เองทุกข้อ
    ตอบ ค.


    ตอบลบ
  5. 1.ข้อใดเกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาของยาของรีดักชัน
    ก.เติมออกซิเจนเข้าไปในสาร
    ข.ดึงไฮโดรเจนออกจากสาร
    ค.ดึงอิเล็กตรอนออกจากสา
    ง.เติมอิเล็กตรอนเข้าไปในสาร✔
    2.เลขออกซิเดชันของกำมะถันใน S8เป็นเท่าใด
    ก.VII
    ข.II
    ค.0✔
    ง.-II
    3.เลขออกซิเดชันของทองแดงใน[Cu(NH3)4]+2เป็นเท่าใด
    ก.+4
    ข.+2✔
    ค.0
    ง.+6
    4.ไฮโดรเจนมีเลขออกซิเดชันเป็น -1 ในสารใด
    ก.NaH✔
    ข.H2
    ค.HCl
    ง.CH4
    5ออกซิเจนมีเลขออกซิเดชันเป็น-1 ในสารใด
    ก.SO4
    ข.MgO
    ค.MnO-4
    ง.Na2O2✔
    6.ถ้าเลขออกซิเดชันของX. Yและz เป็น+3,+4,-2ตามลำดับ ค่าของn เป็นประจุของไอออนเท่าใด
    ก.+5
    ข.-5✔
    ค.0
    ง.+3
    7.เลขออกซิเดชันของอะตอมนิกเกิลในเกลือเชิงซ้อนK4Ni(CN)4เป็นเท่าใด
    ก.0✔
    ข. +II
    ค.+IV
    ง.+VI
    8.ข้อใดมีการเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชันมากที่สุด
    ก.MnO4→Mn2+
    ข.cr2O7→2Cr3+
    ค.IO-3→I2
    ง.ClO-4→cl-✔
    9.ในปฏิกิริยานี้เลขออกซิเดชันของไนโตรเจนเปลี่ยนอย่างไร 2HNO3+3H2S→2NO+3s+4H2O
    ก.+5เป็น+2✔
    ข.+5เป็น-2
    ค.+5เป็น+3
    ง.+3เป็น+5
    10.เลขออกซิเดชันของอะตอมนอกเกิลเชิงซ้อนK4Ni(CN)4เป็นเท่าใด
    ก.0✔
    ข.+II
    ค.+IV
    ง.+VI
    11.ข้อใดมีการเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชันมากที่สุด
    ก.MnO-→Mn2+
    ข.Cr2O2-→2Cr3+
    ค.IO-3→I2
    ง.CIO-4→CI-✔
    12.ปฏิกิริยาในข้อใดที่ซัลเฟอร์ไดแอกไซด์ถูกรีดิวซ์
    ก.SO2+H2O+CI2→2HCI+H2SO4
    ข.SO2+2H2S→2H2O+3s✔
    ค.SO2+2NaOH→Na2SO3+H2O
    ง.SO2+PbO2→PbSO4
    13.ปฏิกิริยาข้อใด ไม่ใช่ ปฏิกิริยารีดอกซ์
    ก.3Cl2+6KOH→KClO3+5KCl+3H2O2
    ข.Cu+2H2SO4→CuSo4+2H2O+SO2
    ค.Mg+2Hcl→MgCl2+H2
    ง.Na2SO4+BaCl2→BaSO4+2NaCl✔
    14.เหล็กในสมการใดเป็นตัวรีดิวซ์
    ก.FeO+CO→Fe+CO2
    ข.2Hg+2Fe3+ +2CT→Hg2Cl2+2Fe2+
    ค.2Fe+3/20 2+xH2O→Fe2O3+xH2O✔
    ง.[Fe(CN)6]3- +Cr2+→[Fe(CN6)4-+Cr3+
    15.ข้อใดกล่าวถึงปฏิริยาออกซิเดชัน-รีดักชันไม่ถูกต้อง
    ก.เติมอะตอมออกซิเจนในสาร เรียกว่าปฏิกิริยาออกซิเดชัน
    ข.ดึงอิเล็กตรอนออกจากสา เรียกว่าปฏิกิริยารีดักชัน✔
    ค.สารที่เป็นตัวออกซิไดส์จะรับอิเล็กตรอนในระหว่างเกิดปฏิกิริยา
    ง.ปฏิกิริยาออกซิเดชันเเละนีดักชันจะเกิดได้ต้องมีตัวกระตุ้น
    16.เมื่อปฏิกิริยาในเซลลไฟฟ้าเคมีเช้าสู่สมดุลเข็มของโวลล์มิเตอร์จะชี้ที่ศูนย์ ทั้งนี้เพราะ
    ก.ไอออนในครึ่งเซลล์ทั้งสองมีพลังงานเช่นเดียวกัน
    ข.ไอออนในครึ่งเซลล์ทัเงสองมีศักย์ไฟฟ้าเท่ากัน✔
    ค.อิเลคโตรดทั้งสองมีความต่างศักย์เท่ากัน
    ง.อิเลคโตรดทั้งสองมีศักย์ไฟฟ้าเท่ากัน
    17.ในการกระทำสะพานไอออน เพราะเหตุใดจึงเลือกใช้สารละลายอิ่มตัวของKNO3แทนกาใช้สารละลายไม่อิ่มตัวของKNO3
    ก.ต้องการให้นำไฟฟ้าได้ดี
    ข.รักษาสมดุลระหว่างไอออนบวกและไอออนลบได้เเน่นนอน✔
    คมีระยะการใช้งานได้นาน
    ง.ให้ไอออนเคลื่อนที่ผ่านสะพานไอออนได้เร็ว
    18.ใส่ผงเหล็กในสารละลายคอปเปอร์ซัลเฟตเกิดสีส้มหุ้มผงเหล็ก จากข้อความนี้ ข้อใดถูกต้อง
    ก.อิเล็กตรอนไหลจากเหล็กไปยังทองแดง✔
    ข.เหล็กเป็นเเคโทด
    ค.ตัวรีดิวซ์คือทองเเดง
    ง.ค่าศักย์ไฟฟ้าเซลล์มาตรฐานCu|Cu2+น้อยกว่าFe|Fe2+
    19.แผ่นXmas ทำปฏิกิริยากับสารละลาย HClเจือจางเร็วกว่า Fe
    จากข้อมูลต่อไปนี้ จงบอกว่าสารใดชิงอิเล็กตรอนได้ดีกว่า
    ก.Zn2+>Fe2+>H+
    ข.Fe2+>Zn2+>H+
    ค.H+>Fe2+>Zn2+✔
    ง.Zn+2>H+>Fe2+
    20.ข้อใดต่อไปนี้ อธิบายเกี่ยวกับเเบตเตอรี่ได้ถูกต้อง
    ก.ขณะจ่ายไฟ ค่าศักย์ไฟฟ้าของแต่ละเซลล์ในเเบตเตอรี่ค่าคงที่
    ข.ขณะจ่ายไฟ สารที่เข้าทำปฏิกิริยาเป็นสารชนิดเดียวกัน
    ค.ตัวรีดิวซ์มีการเปลี่ยนค่าเลขออกซิเดชันเท่ากัน4
    ง.ระดับความเข้มข้นของกรดมีผลต่อศักย์ไฟฟ้าของเซลล์✔

    ตอบลบ
  6. นางสาว นริศรา สว่างอารมย์ ชั้นม.5/1 เลขที่24


    1 ). เลขออกซิเดชันของกำมะถันใน S8 เป็นเท่าใด
    1. VIII 2. II
    3. - II 4. II หรือ VIII
    5. 0
    #ตอบ5

    2). ข้อใดเกี่ยวข้องกับปฏิกิริยารีดักชัน
    1. เติมออกซิเจนเข้าไปในสาร
    2. ดึงไฮโดรเจนออกจากสาร
    3. ดึงอิเล็กตรอนออกจากสาร
    4. เติมอิเล็กตรอนเข้าไปในสาร
    #ตอบ4.

    3.) เลขออกซิเดชันของอะตอมนิกเกิลในเกลือเชิงซ้อน
    K4Ni(CN)4
    เป็ นเท่าใด
    1. 0. 2. +II 3. +IV 4. +VI
    #ตอบ เฉลยข้อ 1

    วิธีคิด
    K4. Ni (CN)4

    4(+1) + x + 4(-1) = 0
    x = 0


    4)ปฏิกิริยาในข้อใดที่ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ถูกรีดิวซ์
    1. SO2
    + H2O + Cl2
    ----- 2HCl + H2
    SO4
    2. SO2
    + 2H2
    S 2H2O + 3S
    3. SO2
    + 2NaOH Na2
    SO3
    + H2O
    4. SO2 + PbO2
    PbSO4

    #ตอบ2

    5). จากข้อมูลต่อไปนี้
    ก. Zn ไม่ทำปฏิกิริยากับนำ้แต่ Na ทา
    ปฏิกิริยารุนแรงกับน้ำ
    ข.จุ่ม Cuลงในสารละลาย AgNO3
    สารละลายจะเปลี่ยนเป็ นสีฟ้าอ่อน
    ค.จุ่ม Zn ลงในสารละลาย CuSO4 สีฟ้าของสารละลายจางลง

    จงเรียงลำดับความสามารถในการเป็นตัวรีดิวซ์จากมากไปน้อย

    1. Na,Zn,Cu,Ag 2. Zn,Na,Cu,Ag
    3. Cu,Zn,Ag,Na 4. Ag,Cu,Zn,Na

    #ตอบ1


    6.)เมื่อปฏิกิริยา
    ในเซลล์
    ์ไฟฟ้าเคมีเข้าสู่สมดุลเข็มของ
    ของโวลล์มิเตอร์จะชี้ที่ศูนย์ ทั้งนี้เพราะ
    ก. ไอออนในครึ่งเซลล์ทั้งสองมีพลังงานเท่ากัน
    ข. ไอออนในครึ่งเซลล์ทั้งสองมีศักย์ไฟฟ้าเท่ากัน
    ค. อิเลคโตรดทั้งสองมีความต่างศักย์เท่ากัน
    ง. อิเลคโตรดทั้งสองมีศักย์ไฟฟ้าเท่ากัน

    #ตอบข


    7) ในการทำสะพานไอออนเพราะเหตใดจึงเลือกใช้สารละลาย
    อิ่มตัวของ KNO3 แทนการใช้สารละลายไม่อิ่มตัวของ KNO3

    ก. ต้องการให้น าไฟฟ้าได้ดี
    ข. รักษาสมดุลระหว่างไอออนบวกและไอออนลบได้แน่นอน
    ค. มีระยะเวลาการใช้งานได้นาน
    ง. ให้ไอออนเคลื่อนที่ผ่านสะพานไอออนได้เร็ว

    #ตอบข


    8) เปรียบเทียบเซลล์กัลวานิกและเซลล์อิเล็กโทรไลต์โดย
    พิจารณาข้อสรุปต่อไปนี้ข้อใดสรุปถูก

    1. ไอออนบวกจะเคลื่อนที่เข้าหาขั้วลบ และไอออนลบจะวิ่ง
    เข้าหาขั้วบวกเสมอในเซลล์ทั้งสองชนิด
    2. ในเซลล์กัลวานิกไอออนบวกจะวิ่งไปที่แอโนดและไอออน
    ลบจะวิ่งไปที่แคโทด ในเซลล์อิเล็กโทรไลต์ไอออนบวก
    และลบจะวิ่งไปที่แคโทดและแอโนดตามลำดับ
    3. ในเซลล์กัลวานิกขั้วของแอโนดและแคโทดจะเป็ นขั้วลบ
    และบวกตามล าดับ ส่ วนในเซลล์อิเล็กโทรไลต์แอโนดคือ
    ขั้วบวกและแคโทดคือขั้วลบ
    4. อิเล็กตรอนไหลจากแอโนดไปแคโทดเมื่อต่อสายภายนอก
    ของเซลล์กัลวานิก ส่วนในเซลล์อิเล็กโทรไลต์อิเล็กตรอน
    มาจากแบตเตอรี่เข้าสู่ขั้วแอโนด
    ข้อสรุปใดถูก
    ก. 3 เท่านั้น ข. 2กับ 4 ค. 1กับ 4 ง. 1, 3 และ4

    #ตอบ ก



    9) สิ่งใดไม่ควรปฏบัตัใินการชุบโลหะด้วยไฟฟ้า

    ก. ใช้ของทจะชุบเป็นแคโทดหรือขั้วลบของเซลล์
    ข. ในสารละลายอิเล็กโทรไลต์มไี
    อออนของโลหะที่จะชุบ
    ค. ใช้กระแสไฟตรง
    ง. ใช้โลหะที่จะชุบเป็นแคโทดหรือขั้วลบของเซลล์
    #ตอบ ง


    10) ข้อใดไม่ถูกต้องเมื่อต้องการชุบโลหะเหล็กด้วยโครเมียม

    ก. ใช้โลหะโครเมียมเป็ นแอโนดหรือเป็ นขั้วบวก
    ข. ใช้แท่งเหล็กเป็ นแคโทดหรือเป็ นขั้วลบ
    ค. สารละลายอิเล็กโทรไลต์ต้องมีไอออนของโครเมียม
    ง. ใช้โลหะโครเมียมเป็ นแคโทดหรือเป็ นขั้วลบ

    #ตอบ ง

    ตอบลบ
  7. นางสาวนริศรา สว่างอารมย์ ชั้นม.5/1 เลขที่24


    11) การป้องกันการผุกร่อนของตะปูเหล็กวิธีดไม่ถูกต้อง


    ก. นำตะปูต่อเข้ากับกับขั้วบวกของถ่าาไฟฉาย
    ข. นพตะปูไปทำอะโนไดซ์
    ค. นำตะปูไปทำแคโทดิก
    ง. นำตะปูไปทำรมดำ

    #ตอบ ข

    12) ข้อใดกล่าวถึงปฏิกิริยาออกซิเดชัน-รีดักชันไม่ถูกต้อง
    1. เติมอะตอมออกซิเจนในสาร เรียกว่าปฏิกิริยาออกซิเดชัน
    2. ดึงอิเล็กตรอนออกจากสาร เรียกว่าปฏิกิริยารีดักชัน
    3. สารที่เป็ นตัวออกซิไดส์จะรับอิเล็กตรอนในระหว่าง
    เกิดปฏิกิริยา
    4. ปฏิกิริยาออกซิเดชั่นและรีดักชั่นนจะเกิด
    ิได้ต้องมีตัวกระตุ้น

    #ตอบ2


    13) จากสิ่งที่กำหนดให้ต่อไปนี้จงเขียนเป็นแผนภาพ


    Cd + Ni2+
    --------> Cd2+
    + Ni

    #ตอบ
    Cd(s) | Cd2+
    (aq) || Ni2+
    (aq) | Ni(s)


    14) เหล็กในสมการใดเป็ นตัวรีดิวซ์
    1. FeO + CO Fe + CO2
    2. 2Hg + 2Fe3+
    + 2Cl- Hg2
    Cl2
    + 2Fe2+
    3. 2Fe + 3/2O2
    + xH2O Fe2O3
    + xH2O
    4. [Fe(CN)
    6
    ]
    3-
    + Cr2+
    [Fe(CN)
    6]4-
    + Cr3+

    #ตอบ 3


    15) ปฏิกิริยาในข้อใดที่มีสารชนิดหนึ่งทำหน้าที่เป็นทั้
    งตัวรีดิวซ์และตัวออกซิไดส์
    ก. Co(NO3
    )
    2+ ------> 6KCN K4
    [Co(CN)6
    ] + 2KNO3
    ข. 2NH3
    + 5O2------>
    2NO + 3H2O
    ค. 2K2
    CrO4
    + 2HCl -------->K2
    Cr2
    O7
    + 2KCl + H2O
    ง. 3Cl2
    + 6NaOH --------> 5NaCl + NaClO3
    + 3H2O
    จ. 2Al + 6H2
    O + 2OH- --------->2[Al(OH)4
    ]
    -+ 3H2O

    #ตอบ ง


    ตอบลบ
  8. 16) ข้อความใดเกิดขึ้นจากการอิเล็กโทรลิซิสสารละลาย MgCl2
    ก. เกิดโลหะ Mg ขึ้นที่ขั้วแอโนด
    ข. Mg2+ ถูกออกซิไดซ์ที่แคโทด
    ค. ก๊าซ Cl2 เกิดขึ้นที่แอโนดโดยการออกซิเดชันของ Cl-
    ง. Cl- เคลื่อนที่เข้าหาแคโทด

    #ตอบ ค เพราะ
    ที่แคโทดเกิดปฏิกิริยา ; 2H2O (l) + 2e- ( H2 (g)
    ที่แอโนดเกิดปฏิกิริยา ; 2Cl- (aq) ( Cl2 (g) + 2e-
    ก. ผิด ที่แอโนดเกิดก๊าซ Cl2
    ข. ผิดที่แคโทด H2O ถูกรีดิวซ์ เกิด H2
    ค. ถูก แอโนด Cl- เกิดออกซิเดชันได้ Cl2
    ง. ผิด Cl- เคลื่อนที่เข้าหาแอโนด (ขั้วบวก)

    17) จงทำนายว่าปฏิกิริยารีดอกซ์ใดต่อไปนี้สามารถเกิดได้ตามสมการที่เขียนนี้
    ก. Sn(s) + Zn2+ (aq) ( Sn2+ (aq) + Zn (s)
    ข. 2Fe3+ (aq) + 2I- (aq) ( 2Fe2+ (aq) + I2 (aq)
    ค. 4NO3- (aq) + 4H+ (aq) ( 3O2 (g) + 4NO (g) + 2H2O (l)

    #ตอบ ก. จากสูตร
    = -
    แทนค่า
    = (-0.76) - (-0.1364)
    = -0.6236 V
    เนื่องจากค่า < 0 แสดงว่าปฏิกิริยานี้ไม่เกิดตามที่เขียน

    ข. จากสูตร
    = -
    แทนค่า
    = (+0.770) - (+0.5388)
    = +0.2362 V
    เนื่องจากค่า > 0 แสดงว่าปฏิกิริยานี้เกิดตามที่เขียน

    ค. = -0.269 V
    เนื่องจากค่า < 0 แสดงว่าปฏิกิริยานี้ไม่เกิดตามที่เขียน


    18) สารในข้อใดต่อไปนี้เป็นตัวออกซิไดส์ที่แรงที่สุด
    ก. H2O2 ในกรด ข. H2O2 ในกรด ค. MnO4- ในกรด
    ง. MnO4- ในเบส จ. CrO42- ในกรด

    #ตอบ ก
    วิธีคิด จากตารางค่า E0 ของสารต่าง ๆ เขียนสมการของปฏิกิริยารีดักชันของครึ่งเซลล์ได้ดังนี้
    ก. H2O2 + 2H+ + 2e- H2O E0 = +1.776 V
    ข. H2O2 + 2e- 2OH- 2OH- E0 = +0.88 V
    ค. MnO4- + 8H+ +5e- Mn2+ + 4H2O E0 = +1.491 V
    ง. MnO4- + 2H2O + 3e- Mn2+ + 4OH- E0 = +0.588 V
    จ. CrO42- + 8H+ + 3e- Cr3+ + 4H2O E0 = +1.195 V
    เนื่องจากค่า E0 ของ H2O2 ในข้อ ก. มีค่ามากที่สุด ดังนั้น H2O2 ในกรดจึงเป็นตัวออกซิไดส์ที่แรงที่สุด


    19) ชุบสังกะสีด้วยเงิน ต้องต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบใด

    1.Pt(s)|H2(g)||Ag+(aq)|Ag(s)
    2. Zn(s)|Zn2+(aq)||Ag+(aq)|Ag(s)
    3.Ag(s)|Ag2+(aq)||Zn2+(aq)|Zn(s)
    4.Ag(s)|Ag+(aq)||H+(aq)|H2(g),Pt(s)

    #ตอบ 2

    20) จากแผนภาพเซลล์ไฟฟ้าต่อไปนี้ ซึ่งมีแรงเคลื่อนไฟฟ้าเท่ากับ +0.80
    Pt(s)|H2(1atm)|H+(1M)||Ag+(1M)|Ag

    ข้อใดระบุค่าศักย์ไฟฟ้ารีดักชันของสารตั้งต้นได้ถูกต้อง

    1. H2 0.80V
    2. Pt -0.80 V
    3. Ag+ 0.80V
    4. Ag -0.80V

    #ตอบ 3

    นางสาวนริศรา สว่างอารมย์ ม.5/1 เลขที่24

    ตอบลบ
  9. 1. ข้อใดกล่าวถึงปฏิกิริยาออกซิเดชัน-รีดักชันไม่ถูกต้อง
    1. เติมอะตอมออกซิเจนในสาร เรียกว่าปฏิกิริยาออกซิเดชัน
    2. ดึงอิเล็กตรอนออกจากสาร เรียกว่าปฏิกิริยารีดักชัน✔
    3. สารที่เป็นตัวออกซิไดส์จะรับอิเล็กตรอนในระหว่าง
    เกิดปฏิกิริยา
    4. ปฏิกิริยาออกซิเดชันและรีดักชันจะเกิดได้ต้องมีตัวกระตุ้น
    2. เมื่อปฏิกิริยาในเซลล์ไฟฟ้าเคมีเข้าสู่สมดุลเข็มของ
    โวลล์มิเตอร์จะชี้ที่ศูนย์ ทั
    ้งนี้เพราะ
    ก. ไอออนในครึ่งเซลล์ทั้งสองมีพลังงานเท่ากัน
    ข. ไอออนในครึ่งเซลล์ทั้งสองมีศักย์ไฟฟ้าเท่ากัน✔
    ค. อิเลคโตรดทั้งสองมีความต่างศักย์เท่ากัน
    ง. อิเลคโตรดทั้งสองมีศักย์ไฟฟ้าเท่ากัน
    3 . ในการทำสะพานไอออน เพราะเหตุจึงเลือกใช้สารละลาย
    อิ่มตัวของ KNO3แทนการใช้สารละลายไม่อิ่มตัวของ KNO3
    ก. ต้องการให้น าไฟฟ้าได้ดี
    ข. รักษาสมดุลระหว่างไอออนบวกและไอออนลบได้แน่นอน✔
    ค. มีระยะเวลาการใช้งานได้นาน
    ง. ให้ไอออนเคลื่อนที่ผ่านสะพานไอออนได้เร็ว
    4. จากข้อมูลต่อไปนี้
    ก.Zn ไม่ท าปฏิกิริยากับน ้าแต่ Na ท าปฏิกิริยารุนแรงกับน ้า
    ข.จุ่ม Cuลงในสารละลาย AgNO3สารละลายจะเปลี่ยนเป็นสีฟ้าอ่อน
    ค.จุ่ม Zn ลงในสารละลาย CuSO4สีฟ้าของสารละลายจางลง
    จงเรียงล าดับความสามารถในการเป็นตัวรีดิวซ์จากมากไปน้อย
    1. Na,Zn,Cu,Ag✔ 2. Zn,Na,Cu,Ag
    3. Cu,Zn,Ag,Na 4. Ag,Cu,Zn,Na
    การให้ e-
    วิธีคิด
    Na > Zn Cu > Ag
    Zn > Cu
    5. จงหาค่า E° ของเซลล์จากปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในเซลล์กัลวานิกต่อไปนี้
    Sn4+(aq) + e- -------> Sn2+(aq) E0 = 0.15 V
    Fe3+(aq) + e- --------->Fe2+(aq) E0 = 0.77 V
    Sn2+(aq) + 2Fe3+(aq) ------> Sn4+(aq) + 2Fe2+(aq)
    วิธีคิด E°เซลล์= E°(แคโทด) - E°(แอโนด)
    = E° (Pt(s)|Fe2+ (aq)| Fe2+ ( aq))- E°(Pt(s)| Sn2+ (aq)| Sn4+ ( aq))
    = + 0.77 - (+0.15) V = + 0.62 V
    6. กำหนดสมการของไอออนต่างๆ ในรูปไอออนลบ
    X- + Y2 X2 + 2Y-
    X2 + 2Z- 2X- + Z2
    2W- + 2Z2 2Z- + W2
    เรียงลำดับความสามารถในการ Oxidize ได้ดังนี้ Y > X > Z > W
    เรียงลำดับความสามารถในการ Reduce ได้ดังนี้ W > Z > X > Y
    7. ในปฏิกิริยานี้เลขออกซิเดชันของไนโตรเจนเปลี่ยนอย่างไร
    2HNO3 + 3H2S-----> 2NO + 3S + 4H2O
    1. +5 เป็น+2✔
    2. +5 เป็น-2
    3. +5 เป็น+3
    4. +3 เป็น+5
    วิธีคิด
    +5 +2
    2HNO3 + 3H2S------> 2NO + 3S + 4H2O

    8. ข้อใดมีการเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชันมากที่สุด
    - 2+
    1. MnO4------>Mn
    2- 3+
    2. Cr2O7------>2Cr
    -
    3. IO3------>I2
    - -
    4. ClO4------>Cl✔
    วิธีคิด
    +7---->  +2 เปลี่ยน 5
    +6---->  +3 เปลี่ยน 3
    +5---->  0 เปลี่ยน 5
    +7----> -1 เปลี่ยน 8
    9. ออกซิเจนมีเลขออกซิเดชันเป็น -1 ในสารใด
    1. MgO
    2-
    2. SO4
    3-
    3. PO4
    4. Na2O2✔
    -
    5. MnO4
    10. ถ้าเลขออกซิเดชันของ X, Y และ Z เป็น +3, +4 และ -2
    ตามลำดับ ค่าของ n เป็นประจุของไอออน, [XY3Z10]n
    1. +5
    2. -5 ✔
    3. 0
    4. +3
    วิธีคิด X Y3 Z10
    +3 + 3(+4)+ 10(-2) =n
    3 + 12 – 20 = n
    15 – 20 = n
    n = -5

    ตอบลบ
  10. 11. เลขออกซิเดชันของธาตุขีดเส้นใต้ใน NH4NO3
    เป็นเท่าใด
    1. +1
    2. -3
    3. +2
    4. +5 ✔
    วิธีคิด
    N H4 N O3
    1(-3) + 4(+1) + x + 3(-2) = 0
    x = +5
    12. เลขออกซิเดชันของอะตอมนิกเกิลในเกลือเชิงซ้อน
    K4Ni(CN)4 เป็นเท่าใด
    1. 0 ✔
    2. +II
    3. +IV
    4. +VI
    วิธีคิด
    K4 Ni (CN)4
    4(+1) + x + 4(-1) = 0
    x = 0
    13. ข้อใดเกี่ยวข้องกับปฏิกิริยารีดักชัน
    1. เติมออกซิเจนเข้าไปในสาร
    2. ดึงไฮโดรเจนออกจากสาร
    3. ดึงอิเล็กตรอนออกจากสาร
    4. เติมอิเล็กตรอนเข้าไปในสาร✔

    14. เลขออกซิเดชันของก ามะถันใน S8เป็นเท่าใด
    1. VIII
    2. II
    3. - II
    4.II หรือ VIII
    5. 0✔
    15. เลขออกซิเดชันของทองแดงใน
    Cu (NH3)4 2+ เป็นเท่าใด
    1. +4
    2. +2✔
    3. 0
    4. +6
    5. -2
    16. ไฮโดรเจนมีเลขออกซิเดชันเป็น -1 ในสารใด
    1. H2 2. CH4
    3. NaHCO3
    4. HCl
    5. NaH✔
    17. จากข้อมูลต่อไปนี้
    “ใส่ผงเหล็กในสารละลายคอปเปอร์ซัลเฟตเกิดสีส้มหุ้มผงเหล็ก”
    ข้อความใดถูกต้อง
    ก. อิเล็กตรอนไหลจากเหล็กไปยังทองแดง✔
    18. กำหนดค่า E0 ให้ดังนี้
    ครึ่งปฏิกิริยา E0 (V)
    X+ + e- X -0.22
    Y+ + e- Y -0.18
    ผลการทดลองต่อไปนี้ข้อใดถูกต้อง
    ก. เมื่อจุ่มโลหะ Y ลงในภาชนะบรรจุส.ล.ล XCl จะมีโลหะ X มาเกาะบน
    แท่ง Y
    ข. เมื่อจุ่มโลหะ X ลงในภาชนะบรรจุส.ล.ล YCl จะไม่เห็นการเปลี่ยนแปลง
    ค. เมื่อจุ่มโลหะ Y ลงในภาชนะบรรจุส.ล.ล HCl จะมีแก๊สไฮโดรเจนเกิดขึ้น✔
    ง. เมื่อจุ่มโลหะ X ลงในภาชนะบรรจุส.ล.ล HCl จะไม่เห็นการเปลี่ยนแปลง
    19. กำหนดค่า E0 ให้ดังนี้
    ครึ่งปฏิกิริยา E0 (V)
    Pb2+ + 2e- Pb -0.12
    Ag+ + e- Ag +0.80
    เมื่อนำครึ่งเซลล์ Pb|Pb2+ ต่อกับครึ่ง
    เซลล์Ag|Ag+ เป็นเซลล์ไฟฟ้าเคมี
    ข้อความใดถูกต้องที่สุด
    ก. Pb ทำหน้าที่เป็นแคโทดเพราะเกิดปฏิกิริยารีดักชัน
    ข. Ag ทำหน้าที่เป็นแคโทดเพราะเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน
    ค. Ag ทำหน้าที่เป็นแอโนดเพราะเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน
    ง. Pb ทำหน้าที่เป็นแอโนดเพราะเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน✔
    29. ข้อความใดไม่สอดคล้องกับข้อมูลในตารางนี้
    ครึ่งปฏิกิริยา E0 (V)
    Pb2+ + 2e- Pb -0.12
    Cu2+ + 2e- Cu +0.34
    Ag2+ + e- Ag +0.80
    ก. Pb เป็นตัวรีดิวซ์ที่ดีกว่า Cu และ Ag
    ข. Cu2+ออกซิไดส์ Pb ได้ แต่ไม่สามารถ
    ออกซิไดส์ Ag
    ค. สำหรับครึ่งปฏิกิริยา Cu+ + e- Cu
    , E0 = 0.17 V✔
    ง. ถ้านำลวดทองแดงจุ่มในสารละลาย
    AgNO3จะเห็น ส.ล.ลเปลี่ยนเป็นสีฟ้า

    ตอบลบ
  11. 1) ข้อใดเกี่ยวข้องกับปฏิกิริยารีดักชัน
    ก. เติมออกซิเจนเข้าไปในสาร
    ข. ดึงไฮโดรเจนออกจากสาร
    ค. ดึงอิเล็กตรอนออกจากสาร
    ง. เติมอิเล็กตรอนเข้าไปในสาร📍
    *เฉลยข้อ ง.
    2) เลขออกซิเดชันของ N ใน(NH4)3PO4 เป็นเท่าใด
    ก. +3                                      
    ข. -3📍                                    
    ค. +4                                      
    ง. -4
    *เฉลยข้อ ข.
    3) ข้อใดจัดเป็นปฏิกิริยารีดอกซ์
    ก.กระบวนการย่อยอาหาร                                
    ข. 2H2+O2       2H2O
    ค. การเผาถ่าน                                                      
    ง.ถูกทุกข้อ📍
    *เฉลยข้อ ง.
    4) เมื่อปฏิกิริยาในเซลล์ไฟฟ้าเคมีเข้าสู่สมดุล เข็มของโวลต์มิเตอร์จะชี้ที่ศูนย์เพราะเหตุใด
    ก. ไอออนในครึ่งเซลล์ทั้งสองมีพลังงานเท่ากัน  
    ข. ไอออนในครึ่งเซลล์ทั้งสองมีศักย์ไฟฟ้าเท่ากัน
    ค. อิเล็กโทรดทั้งสองมีความต่างศักย์เท่ากัน    
    ง. อิเล็กโทรดทั้งสองมีศักย์ไฟฟ้าเท่ากัน📍
    *เฉลยข้อ ง.
    5) เปรียบเทียบเซลล์กัลวานิกและเซลล์อิเล็กโทรไลต์ โดยพิจารณาข้อสรุปต่อไปนี้
    1.ไอออนบวกจะเคลื่อนที่เข้าหาขั้วลบ และไอออนลบจะวิ่งเข้าหาขั้วบวกเสมอในเซลล์ทั้งสองชนิด
    2.ในเซลล์กัลวานิก ไอออนบวกจะวิ่งไปที่แอโนด และไอออนลบจะวิ่งไปที่แคโทดในเซลล์อิเล็กโทรไลต์ไอออนบวกและลบจะวิ่งไปที่แคโทดและแอโนด ตามลำดับ
    3.ในเซลล์กัลวานิก ขั้วของแอโนดและแคโทดจะเป็นขั้วลบและบวก ตามลำดับ ส่วนในเซลล์อิเล็กโทรไลต์ แอโนดคือขั้วบวก และแคโทดคือขั้วลบ
    4.อิเล็กตรอนไหลจากแอโนดไปแคโทด เมื่อต่อสายภายนอกของเซลล์กัลวานิก ส่วนในเซลล์อิเล็กโทรไลต์ อิเล็กตรอนมาจากแบตเตอรีเข้าสู่ขั้วแอโนด
    ข้อสรุปใดถูกต้อง
    ก. 3 เท่านั้น📍                         
    ข. 2 , 4 เท่านั้น                   
    ค. 1 , 4 เท่านั้น                   
    ง. 1 , 3 , 4 เท่านั้น
    *เฉลยข้อ ก.
    6) ถ้าต้องการชุบโลหะสังกะสีด้วยทองแดง ต้องต่อเซลล์ไฟฟ้าโดยใช้โลหะใดเป็นแอโนด โลหะใดเป็นแคโทดและสารละลายใดเป็นอิเล็กโทรไลต์ ตามลำดับ
    ก. Zn     Cu     CuSO4                                      
    ข. Cu     Zn     CuSO4📍  
    ค. Zn     Cu     ZnSO4                                      
    ง. Cu      Zn     ZnSO4
    *เฉลยข้อ ข.
    7) หลักการใดที่ถูกต้องในการชุบโลหะด้วยกระแสไฟฟ้า
    ก. สิ่งที่จะชุบต้องเป็นขั้วบวก
    ข. จะชุบด้วยโลหะอะไรใช้โลหะนั้นเป็นขั้วลบ
    ค. อิเล็กโทรไลต์จะต้องเป็นไอออนของโลหะชนิดเดียวกับโลหะที่จะใช้ชุบ📍
    ง. การชุบโลหะด้วยกระแสไฟฟ้าต้องใช้ไฟฟ้ากระแสสลับ
    *เฉลยข้อ ค.
    8) สิ่งใดที่ไม่ควรปฏิบัติในการชุบโลหะด้วยไฟฟ้า
    ก.ใช้โลหะที่จะชุบเป็นแคโทดหรือขั้วลบของเซลล์📍
    ข.ใช้ของที่จะชุบเป็นแคโทดหรือขั้วลบของเซลล์
    ค.สารละลายอิเล็กโทรไลต์มีไอออนของโลหะที่จะชุบ
    ง.ใช้กระแสไฟตรง
    *เฉลยข้อ ก.
    9) การป้องกันการผุกร่อนของอุโมงค์ หรือท่อเหล็กใต้ดิน ทำได้โดยการต่อท่อเหล็ก(A) เข้ากับสารชนิดอื่น(B) ข้อความใดต่อไปนี้ผิด
    ก. โลหะ A เป็นตัวรีดิวซ์ที่ยากกว่า B
    ข. เมื่อเวลาผ่านไปมวลของ B อาจลดลง
    ค. A ทำหน้าที่เป็นขั้วลบ เกิดปฏิกิริยารีดักชัน📍
    ง. B ให้อิเล็กตรอนได้ง่ายกว่า A  , B จึงทำหน้าที่เป็นแอโนด
    *เฉลยข้อ ค.
    10) พิจารณาข้อความเกี่ยวกับการชุบช้อนสังกะสีด้วยโลหะเงินโดยวิธีอิเล็กโทรลิซิส
    1. สารละลายอิเล็กโทรไลต์ที่ใช้คือ Ag+
    2. ช้อนสังกะสีเป็นแคโทด ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นคือ Ag+   +  e-     ---->         Ag
    3. ช้อนสังกะสีเป็นแอโนด โดยนำช้อนสังกะสีต่อเข้ากับขั้วลบของแบตเตอรี
    4. แท่งเงินเป็นแอโนด และต่อแท่งเงินเข้ากับขั้วลบของแบตเตอรี
    ข้อสรุปใดถูกต้อง
    ก. 1 , 2 เท่านั้น📍                   
    ข. 2 , 4 เท่านั้น                   
    ค. 1 , 2 และ 3                    
    ง. 1 , 2 และ 4
    *เฉลยข้อ ก.

    ตอบลบ
  12. 11) ชุบสังกะสีด้วยเงิน ต้องต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบใด
    ก. Pt(s) / H2(g) // Ag+(aq) / Ag(s)               
    ข. Zn(s) / Zn2+(aq) // Ag+(aq) / Ag(s)
    ค. Ag(s) / Ag+(aq) // Zn2+(aq) / Zn(s)📍       
    ง. Ag(s) / Ag+(aq) // H+ (aq) / H2(g), Pt(s)
    *เฉลยข้อ ค.
    12) ในการทำสะพานไอออน เพราะเหตุใดจึงเลือกใช้สารละลายอิ่มตัวของ KNO3 แทนการใช้สารละลายไม่อิ่มตัวของ KNO3               
    ก. ต้องการให้นำไฟฟ้าได้ดี                              
    ข. รักษาสมดุลระหว่างไอออนบวกและไอออนลบได้แน่นอน📍
    ค. มีระยะเวลาการใช้งานได้นาน                   
    ง. ให้ไอออนเคลื่อนผ่านสะพานไอออนได้เร็ว
    *เฉลยข้อ ข.
    13) หลักการใดที่ถูกต้องในการชุบโลหะด้วยกระแสไฟฟ้า
    ก. สิ่งที่จะชุบต้องเป็นขั้วบวก
    ข. จะชุบด้วยโลหะอะไรใช้โลหะนั้นเป็นขั้วลบ
    ค. อิเล็กโทรไลต์จะต้องเป็นไอออนของโลหะชนิดเดียวกับโลหะที่จะใช้ชุบ📍
    ง. การชุบโลหะด้วยกระแสไฟฟ้าต้องใช้ไฟฟ้ากระแสสลับ
    *เฉลยข้อ ค.
    14) ถ้าจุ่มแท่งเหล็กลงในสารละลายต่อไปนี้ CuSO4 , SnSO4 , ZnSO4 และ Al2(SO4)3 แท่งเหล็กจะกร่อนในสารละลายใดบ้าง
    ก. Al2(SO4)3 , SnSO4             
    ข. Al2(SO4)3 , ZnSO4            
    ค. CuSO4 , ZnSO4                   
    ง. CuSO4 , SnSO4📍
    *เฉลยข้อ ง.
    15) เมื่อดุลปฏิกิริยา   aAl  +  bNaOH               cNa2AlO3  +  dH2 ค่า d มีค่าเท่ากับข้อใด
    ก. 2                                         
    ข. 3📍                                       
    ค. 4                                         
    ง. 5
    *เฉลยข้อ ข.
    16) ข้อความใดต่อไปนี้เกี่ยวกับการป้องกันการผุกร่อนข้อใดไม่ถูกต้อง
    ก. การป้องกันการผุกร่อนของโลหะมีวิธีต่างๆ แต่มีหลักการเดียวกันคือ ป้องกันไม่ให้โลหะสัมผัสกับออกซิเจน หรือน้ำ
    ข. การนำโลหะเหล็กผูกติดกับสังกะสีสามารถป้องกันการผุกร่อนได้วิธีการดังกล่าวเรียกว่า Cathodic
    ค. การรมดำแผ่นโลหะ นิยมใช้สารละลาย NaNO3 และ NaOH เพื่อป้องกันการผุกร่อนของโลหะ
    ง. Anodic Protection เป็นอีกวิธีหนึ่งที่ป้องกันการผุกร่อนของโลหะได้ดี📍
    *เฉลยข้อ ง.
    17) ในการทดลองเรื่องการป้องกันการป้องกันการผุกร่อนของโลหะ ใช้อุปกรณ์และสารเคมีตามข้อใด
    ก. ตะปูเหล็ก แบตเตอรี่ สายไฟ วาสลีน โลหะแมกนีเซียม โลหะทองแดง น้ำ📍
    ข. ตะปูเหล็ก โวลต์มิเตอร์ สายไฟ น้ำมันพืช โลหะแมกนีเซียม โลหะทองแดง น้ำ
    ค. ตะปูเหล็ก แบตเตอรี่ สายไฟ วาสลีน โลหะสังกะสี ลวดนิโครม น้ำ
    ง. ตะปูเหล็ก โวลต์มิเตอร์ สายไฟ น้ำมันพืช โลหะโซเดียม โลหะดีบุก น้ำ 
    *เฉลยข้อ ก.
    18) ในกระบวนการแยกแร่บอกไซด์ด้วยกระแสไฟฟ้าข้อใดไม่ถูกต้อง
    ก. การนำแร่บอกไซด์มาผสมกับแร่ครีโอไรต์เพื่อลดจุดหลอมเหลวให้ต่ำลงและนำไฟฟ้าได้ดี
    ข. ออกซิเจนที่เกิดขึ้นทำปฏิกิริยากับคาร์บอนได้ผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่เป็นคาร์บอนไดออกไซด์
    ค. ได้โลหะอะลูมิเนียมที่แอโนดและคาร์บอนไดออกไซด์ที่แคโทด📍
    ง. ใช้กระแสไฟฟ้าความต่างศักย์ 5 โวลต์ กระแสไฟฟ้า 175,000 แอมแปร์
    *เฉลยข้อ ค.
    19) การแยกสารละลาย CuSO4 ด้วยกระแสไฟฟ้าข้อใดไม่ถูกต้อง
     ก. เกิดปฏิกิริยารีดักชันได้โลหะ Cu ที่ขั้วแคโทด
     ข. ที่แอโนดเกิดก๊าซออกซิเจน
     ‎ค. สารละลาย CuSO4 เป็นอิเล็กโตรไลต์
     ‎ง. เกิดก๊าซไฮโดรเจนที่แอโนด📍
     ‎ *เฉลยข้อ ง.
     ‎20) จากสมการ HNO3 + H2S --> NO + S + H2O เมื่อดุลสมการรีดอกซ์โดยวิธีเลขออกซิเดชัน ตัวเลขหน้าโมเลกุลของ H2O ในสมการคือข้อใด
    ก. 1
    ข. 2
    ค. 3
    ง. 4📍
    *เฉลยข้อ ง.

    ตอบลบ
  13. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  14. 11.การนำไปใช้ประโยชน์ของสารประกอบในข้อใดไม่ถูกต้อง
    1.) แมงกานีส (IV)ออกไซด์ใช้ในถ่านไฟฉาย
    2.) เซลล์เงินและเซลล์นิแคด ต่างก็เป็นเซลล์ทุติยภูมิ
    3.) เซลล์เงินขณะจ่ายไฟ เงินเป็นขั้วแคโทด😊
    4.) เซลล์ปรอทและเซลล์เงินใช้อิเล็กทรอไลต์เหมือนกันคือ KOH
    วิธีคิด เพราะเซลล์เงินขณะจ่ายไฟขั้วแคโทดคือ 〖Ag〗_2 O+ แกรไฟต์
    🌚เฉลยข้อ 3🌚
    12. ข้อใดต่อไปนี้อธิบายเกี่ยวกับแบตเตอรี่ได้ถูกต้อง
    1.) ขณะจ่ายไฟค่าศักย์ไฟฟ้าของแต่ละเซลล์ในแบตเตอรี่มีค่าคงที่
    2.) ขณะจ่ายไฟสารที่เข้าทำปฏิกิริยาเป็นสารชนิดเดียวกัน
    3.) ตัวรีดิวซ์มีการเปลี่ยนแปลงค่าเลขออกซิเดชันเท่ากับ 4
    4.) ระดับความเข้มข้นของกรดมีผลต่อศักย์ไฟฟ้าของเซลล์😊

    วิธีคิด เมื่อแบตเตอรี่จ่ายไฟสารละลายกรด H2SO4 จะเจือจางลงและเมื่อมีความถ่วงจำเพาะเท่ากับ 1.10 จะต้องนำไปอัดไฟใหม่ 🌚เฉลยข้อ 4🌚
    13. สิ่งใดไม่ควรปฏิบัติในการชุบโลหะด้วยไฟฟ้า
    1.) ใช้โลหะที่จะชุบเป็นแคโทดหรือขั้วลบของเซลล์ 😊
    2.) ใช้ของที่จะชุบเป็นแคโทดหรือขั้วลบของเซลล์
    3.) ใช้สารละลายอิเล็กโทรไลต์มีไอออนของโลหะที่จะชุบ
    4.) ใช้กระแสไฟตรง
    วิธีคิด เพราะในการชุบโลหะด้วยไฟฟ้าโลหะที่จะชุกจับต้องต่อกับขั้วบวกของแบตเตอรี่และเรียกว่าขั้วแอโนดส่วนของที่จะสุขจะต้องต่อกับขั้วลบของแบตเตอรี่และเรียกว่าขั้วแคโทด
    🌚เฉลยข้อ 1🌚
    14. ทองแดงที่ถลุงได้จากสินแร่เมื่อทำให้บริสุทธิ์โดยใช้หลักการของเซลล์อิเล็กโทรไลต์ข้อใดต่อไปนี้ผิด
    1.) ใช้ทองแดงถลุงเป็นแอโนดและทองแดงบริสุทธิ์เป็นแคโทด
    2.) สารเจือปนในทองแดงควรมีความสามารถเป็นตัวรีดิวซ์หรือตัวออกซิไดซ์แตกต่างจากทองแดงมากพอสมควร
    3.) สารเจือปนในทองแดงถลุงที่ถูกออกซิไดซ์ได้ยากกว่าทองแดงจะตกตะกอนอยู่ก้นภาชนะเซลล์
    4.) สารละลายในเซลล์เป็นอิเล็กโทรไลต์อะไรก็ได้เช่น CuSO4 , ZnSO4 หรือ H2SO4 เป็นต้น😊
    วิธีคิด ในการทำให้ทองแดงบริสุทธิ์โดยวิธีอิเล็กโทรลิซิส อิเล็กทรอไลต์ที่ใช้จะต้องเป็นสารละลายที่มี Cu 2+ ไม่ใช้สารละลายอะไรก็ได้ 🌚เฉลยข้อ 4🌚
    15. การกระทำในข้อใดไม่ถูกต้องเมื่อต้องการชุบแท่งเหล็กด้วยโครเมียม
    1.) ใช้โลหะโครเมียมเป็นแอโนดหรือเป็นขั้วบวก
    2.) ใช้แท่งเหล็กเป็นแคโทดหรือเป็นขั้วลบ
    3.) สารละลายอิเล็กโทรไลต์ต้องมีไอออนของโครเมียม
    4.) ใช้โลหะโครเมียมเป็นแคโทดหรือเป็นขั้วลบ😊
    วิธีคิด ในการชุบแท่งเหล็กด้วยโครเมียม. โครเมียมต้องต่อกับขั้วบวกของแบตเตอรี่จึงทำหน้าที่เป็นขั้วบวกหรือขั้วแอโนด
    🌚เฉลยข้อ 4🌚
    16. การป้องกันการผุกร่อนของตะปูเหล็กวิธีใดไม่ถูกต้อง
    1.) นำตะปูต่อเข้ากับขั้วบวกของถ่านไฟฉาย 😊
    2.) นำตะปูไปทำอโนไดซ์
    3.) นำตะปูไปทำแคโทดิก
    4.) นำตะปูไปรมดำ
    วิธีคิด การผุกร่อนของเหล็กคือการที่เหล็กเสียอิเล็กตรอนเมื่อนำตะปูเหล็กไปต่อกับขั้วบวกของถ่านไฟฉายจะทำให้ตะปูเหล็กเสียอิเล็กตรอนเร็วขึ้นจึงทำให้ตะปูเหล็กผุเร็วขึ้น 🌚เฉลยข้อ 1🌚
    17. การผุกร่อนของโลหะจะเกิดขึ้นดังข้อใดเมื่อโลหะคู่หนึ่งคู่ใดอยู่ด้วยกัน
    1.) เหล็กกับดีบุก ดีบุกผุก่อน
    2.) เหล็กกับโครเมี่ยม เหล็กผุก่อน
    3.) อลูมิเนียมกับดีบุก อลูมิเนียมผุก่อน 😊
    4.) อลูมิเนียมกับโครเมี่ยม โครเมี่ยมผุก่อน
    วิธีคิด เพราะอลูมิเนียม (Al )มีค่า E0 น้อยกว่าดีบุก (Sn) อลูมิเนียมจึงเสียอิเล็กตรอนได้ง่ายกว่าดีบุก ดังนั้นอลูมิเนียมจึงผุก่อนดีบุก
    🌚เฉลยข้อ 3🌚
    18. การเป็นสนิมจะเกิดช้าลงมากที่สุดเมื่อมีสารใดพันอยู่กับตะปูเหล็ก
    1.) ชิ้นดีบุก
    2.) ชิ้นสังกะสี
    3.) ชิ้นตะกั่ว
    4.) ชิ้นแมกนีเซียม😊
    วิธีคิด เพราะแมกนีเซียมมีค่า E0 น้อยที่สุด แสดงว่าแมกนีเซียมเสียอิเล็กตรอนได้ง่ายที่สุดดังนั้นแมกนีเซียมจึงสามารถป้องกันไม่ให้ตะปูเหล็กผุกร่อนได้ดีที่สุด 🌚เฉลยข้อ 4🌚
    19. ข้อใดเกิดการผุกร่อนของตะปูเหล็กน้อยที่สุด
    1.) ตะปูที่วางไว้ในอากาศ
    2.) ตะปูที่ต่อกับขั้วลบของถ่านไฟฉาย 😊
    3.) ตะปูที่ตอกกับดีบุก
    4.) ตะปูที่นำไปผ่านการอโนไดซ์
    วิธีคิด การผุกร่อนของตะปูเหล็ก คือการที่จะปูเหล็กเสียอิเล็กตรอนแต่เมื่อนำตะปูเหล็กไปต่อกับขั้วลบของถ่านไฟฉายอิเล็กตรอนจากถ่านไฟฉาย จะไหลเข้าสู่ตะปูเหล็ก ซึ่งสามารถป้องกันการผุกร่อนของตะปูเหล็กได้เรียกวิธีนี้ว่า วิธีแคโทดิก
    🌚เฉลยข้อ 2🌚
    20. ผลที่ได้รับจากเซลล์เชื้อเพลิง H2 - O2
    1.) พลังงานไฟฟ้าและความร้อน
    2.) พลังงานไฟฟ้า น้ำบริสุทธิ์และอากาศไม่เป็นพิษ
    3.) พลังงานไฟฟ้า ความร้อนและน้ำบริสุทธิ์ 😊
    4.) พลังงานไฟฟ้าเพียงอย่างเดียว
    วิธีคิด เซลล์เชื้อเพลิง H2 - O2 นอกจากจะได้พลังงานไฟฟ้าและไอน้ำแล้วยังมีความร้อนเกิดขึ้นด้วย
    🌚เฉลยข้อ 3🌚

    ตอบลบ
  15. 1.ถ้าเลขออกซิเดชันของ X, Y และ Z เป็น +3, +4 และ -2 ตามลำดับ ค่าของ n เป็นประจุของ
    ไอออน, [〖xy〗_3 z_10 ]^n
    1.) +5
    2.) -5 😊
    3.) 0
    4.) +3
    วิธีคิด 〖x y〗_(3 ) z_10

    +3 + 3(+4) + 10(-2) = n
    3 + 12 – 20 = n
    15 – 20 = n
    -5 = n
    🐼เฉลยข้อ 2🐼
    2.เลขออกซิเดชันของแมงกานีสใน Mn, 〖Mn〗^(2+), 〖MnO〗_2และ〖MnO〗_4^(2-) เป็นเท่าใดตามลำดับ
    1.) 1, 1, 1, 1
    2.) 0, 0, 0, -2
    3.) 0, 2, 4, 6 😊
    4.) 1, 2, 4, 6
    วิธีคิด Mn= 0 Mn O_2 Mn O_4
    〖Mn〗^(2+)=+2 X + 2(-2) = 0 X + 4(-2) = -2
    X = +4 X = +6
    🐼เฉลยข้อ 3🐼
    3.ในปฏิกิริยานี้เลขออกซิเดชันของไนโตรเจนเปลี่ยนอย่างไร
    〖2HNO〗_(3 )+〖3H〗_2 S → 2NO+3S+4H_2 O
    1.) +5 เป็น +2 😊
    2.) +5 เป็น -2
    3.) +5 เป็น +3
    4.) +3 เป็น +5
    วิธีคิด +5 +2
    〖2HNO〗_(3 )+〖3H〗_2 S → 2NO+3S+4H_2 O
    🐼เฉลยข้อ 1🐼
    4.เลขออกซิเดชันของอะตอมนิกเกิลในเกลือเชิงซ้อน 〖 K_4 Ni(CN)〗_4เป็นเท่าใด
    1.) 0 😊
    2.) +II
    3.) +IV
    4.) +VI
    วิธีคิด〖 K_4 Ni (CN)〗_4
    4(+1) + x + 4(-1) = 0
    X = 0 🐼เฉลยข้อ 1🐼
    5.จงหาค่า E ° ของเซลล์จากปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในเซลล์กัลวานิกต่อไปนี้
    〖Sn〗_4+ (aq)+ e- → 〖Sn〗_2+ (aq) E °= 0.15 V
    Fe3+ (aq) + e- → Fe2+ (aq) E ° = 0.77 V
    〖Sn〗^(2+) (aq) + 〖2Fe〗^(3+) (aq)→ 〖Sn〗^(4+) (aq) +〖 2Fe〗^(2+) (aq)
    วิธีคิด
    E ° เซลล์ = E ° (แคโทด) - E ° (แอโนด)
    = E ° (Pt(s)|〖Fe〗^(2+) (aq)|〖Fe〗^(2+) ( aq))- E ° (Pt(s)| 〖Sn〗^(2+) (aq)| 〖Sn〗^(2+) ( aq))
    = + 0.77 - (+0.15) V
    = + 0.62 V 🐼เฉลย +0.62🐼
    6.ค่า E ° ของเซลล์ไฟฟ้าเคมีนี้เท่ากับเท่าใด
    Hg(l) | 〖Hg〗_2^(2+) (1 mol/l) || 〖Br〗^- (1 mol/l) |〖Br〗_2 (l) | Pt(s)
    1.) 20 V
    2.) 1.07 V
    3.) 0.41 V
    4.) 0.28 V😊
    วิธีคิด E ° เซลล์ = E ° แคโทด - E ° แอโนด
    = 1.07 – 0.79
    = 0.28
    🐼เฉลยข้อ 4🐼
    7.กำหนดค่า E ° ของครึ่งเซลล์ต่อไปนี้
    Au+ (aq) Au(s) E °= +1.68 V
    Ag+ + e - Ag(s) E ° = +0.80 V
    Cu2+ (aq) + 2e- Cu(s) E °= +0.34 V
    2H+ (aq) + 2e- H2 (g) E °= 0.00 V
    Co2+ (aq) + 2e- Co(s) E °= -0.28 V
    ครึ่งเซลล์คู่ใดที่เมื่อต่อกันแล้วจะมีค่าความต่างศักดิ์ = +1.08 โวลต์
    1.)a กับ c
    2.)b กับ c
    3.)c กับ e
    4.)b กับ e😊
    วิธีคิด E ° เซลล์ = E ° แคโทด - E ° แอโนด
    ก. = 1.68 – 0.34 = 1.34
    ข. = 0.80 –0.34 = 0.46
    ค. = 0.34 – (-0.28) = 0.62
    ง. = 0.80 –(-0.28) = 1.08
    🐼เฉลยข้อ 4 🐼

    8. กำหนดค่า E 0 ของโลหะ A และ B ดังนี้
    A^(3+) (aq) + 3e^- →A(s) E ° = -1.66 V
    B^(2+) (aq) + 2e^- →B(s) E ° = -0.13 V
    เมื่อจุ่มโลโลหะ A ในสารละลาย B (II) ไนเตรท ดังรูป แล้วปล่อยทิ้ง ไว้ ข้อความใดถูกต้อง
    1) เกิดโลหะ B เกาะที่แผ่นโลหะ A
    2) สมการไอออนิก คือ 2A(s) + 3B^(2+) (aq) →2A^(3+) (aq) + 3B(s)
    3) ค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าของเซลล์ = +1.79 โวลต์
    1.ข้อ 1และ 2 😊
    2.ข้อ 1 และ 3
    3.ข้อ 2 และ 3
    4. ข้อ 1, 2 และ 3
    วิธีคิด E ° เซลล์= E ° (แคโทด) - E ° (แอโนด)
    = (-0.13) - (-1.66)
    = 1.53 V
    🐼เฉลยข้อ 1🐼
    9.จงหาค่า E ° ของเซลล์จากปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในเซลล์กัลป์วานิกต่อไปนี้
    〖Cl〗_2 (g) + 2e → 2Cl(aq) E ° = 1.36 V
    〖Zn〗^(2+) (aq) + 2e → Zn(s) E ° = -0.76 V
    Zn(s) + 〖Cl〗_2 (g) →〖Zn〗^(2+) (aq) + 2Cl(aq)
    วิธีคิด E ° เซลล์ = E ° (แคโทด) - E ° (แอโนด)
    = E ° (Pt(s)|Cl(aq)|Cl2 ( aq)) - E ° (Zn(s)|Zn2+ (aq) )
    = + 1.36 - (-0.76) V
    = + 2.12 V
    🐼เฉลย + 2.12 V 🐼

    10.กำหนดค่า E ° ของเซลล์เป็นดังนี้
    〖Ag〗^+ + e^- →Ag E °= 0.80 V
    〖Fe〗^(2+)+ 2e^-→Fe (s) E °= -0.44 V
    ถ้านำครึ่งเซลล์ Fe (s) | Fe2+ (aq) กับครึ่งเซลล์Ag (s) | Ag (aq) มาต่อกันเป็นเซลล์กัลป์วานิกจะได้ศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของเซลล์ คู่นี้เท่าใด
    1.) 1.24 V😊
    2.) 2.07 V
    3.) 0.69 V
    4.) 0.47 V
    วิธีคิด E ° เซลล์ = E ° (แคโทด) - E ° (แอโนด)
    =0.80 –(-0.44)
    = 1.24 V
    🐼เฉลยข้อ 1🐼

    ตอบลบ
  16. 1.โลหะในสารประกอบใดที่มีเลขออกซิเดชันเท่ากับศูนย์
    1.[Co(CN)4]4- 2.[Fe(SCN)(H2O5]2+
    3.[Ni(CN)5]3- 4.[Ni(NH3)6]2+
    ตอบ 1.
    2.ปฏิกิริยาในข้อใดที่มีธาตุเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชันจาก+5 เป็น -3
    1.Mg3N2+6H2O 3Mg(OH)2+2NH3
    2.2NO2+H2O HNO2+HNO3
    3.KNO3+4Zn+7KOH NH3+4K2ZnO2+2H2O
    4.Na2SnO2+KClO3 KCl+3Na2SnO3
    ตอบ 3.
    3.สมการใดที่กำมะถันเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชันเท่ากัน
    ก.Cl2+H2SO3+H2O 2Cl-+SO42-+4H+
    ข.2Na2S2O3+I2 2NaI+Na2S4O6
    ค.SO2+NO2 SO3+NO
    ง.As2S3+22NO3-+20H+ 2H2AsO4-+3SO2-4+28NO2+8H2O
    1.ก และ ค 2.ข และ ง
    3.ก และ ง 4.ค และ ง
    ตอบ 1.
    4.ปฏิกิริยาในข้อใดที่มีสารตัวหนึ่งเป็นทั้งตัวรีดิวซ์และตัวออกซิไดซ์
    ก.H4IO6-+11I-+8H+ 4I-3+6H2O
    ข.3S2+O32-+2H+ 4S+2SO2-4+H2O
    ค.MbO2+HO2-+OH- MnO2-4+H2O
    ง.H2O2+2I-+2H+ I2+2H2O
    จ.3KCiO3+3H2SO4 3KHSO4+HClO4+2ClO2+H2O
    1.ทุกข้อ 2.ก และ ง
    3.ข,จ และ ฉ 4.ข และ ฉ
    ตอบ 4.
    5.ปฏิกิริยาใดที่ H2O2 เป็นตัวถูกออกซิไดซ์
    1.PbO2+H2O PbO+H2O+O2
    2.H2S+H2O2 S+2H2O
    3.H2SO3+H2O2 H2SO4+H2O
    4.2KI+H2SO4+H2O2 I2+K2SO4+2H2O
    ตอบ 1.
    6.2KMnO4+H2C2O4 K2CO3+2MnO2+6CO2+3H2O ข้อความใดเกี่ยวกับปฏิกิริยานี้ถูกต้อง
    1.Mn เป็นตัวออกวิไดซ์ส่วน C เป็นตัวรีดิวซ์
    2.KMnO4 ถูกออกซิไดซ์โดย H2C2O4
    3.H2C2o4 เป็นตัวออกซิไดซ์
    4.H2c2O4 ถูกออกซิไดซ์โดย KMnO4
    ตอบ 4.
    7.สารในข้อใดเป็นได้แต่ตัวออกซิไดซ์
    1.CO 2.SO2-3
    3.IO4- 4.NO
    ตอบ 3.
    8.เมื่อจุ่มทองแดงลงในสารละลายซิลเวอร์ไนเตรต ปรากฏว่าแท่งทองแดงกร่อน สารละลายกลายเป็นสีฟ้า ข้อใดสรุปได้ถูกต้อง
    1.CU ถูกรีดิวซ์โดย Ag+
    2.Cu ถูกออกซิไดซ์ส่วน Ag+ ถูกรีดิวซ์
    3.ปฏิกิริยารีดอกซ์คือ Cu2++2Ag Cu+2Ag+
    4.เกิดกระแสไฟฟ้าไหลจาก Cu ไปยัง Ag
    ตอบ 2.
    9.ปฏิกิริยาใดที่ตัวรีดิวซ์มีเลขออกซิเดชันเพิ่มขึ้นจาก +3 เป็น +6
    1.2KMnO4+10KCl+8H2SO4 2MnSO4+5Cl2+6K2SO4+8H2O
    2.2Fe(OH)3+10NaOh+3Cl2 2Na2FeO4+8H2O+6NaCl
    3.3Cu+8HNO3 3Cu(NO3)2+2NO+4H2O
    4.I2+2S2O32- 2I-+S4O62-
    ตอบ 2.
    10.ปฏิกิริยาในข้อใดไม่ใช่ปฏิกิริยารีดอกซ์
    1.PbS+H2O2 PbSO4+H2O
    2.H2O+2MnO4-+3SnO2-2 2MnO2+3SnO32-+2OH-
    3.2NH3+Co(NO3)2+2H2O Co(OH)2+2NH4NO3
    4.2KMNO4+5H2C2O4+3H2SO4 K2SO4+2MnSO4+10CO2+8H2O
    ตอบ 3.

    ตอบลบ
  17. 11.การเปลี่ยนแปลงเลขอออกซิเดชันของแมงกานีส ในข้อใดที่แสดงว่าแมงกานีสถูกออกซิไดซ์
    1.Mn2+ Mn 2.Mn2O72- MnO2-4
    3.MnO3 MnO42- 4.MnO2-4 MnO4-
    ตอบ 4.
    12.H2S+ClO3- SO2-4+Cl-+H+ สมการนี้เมื่อดุลแล้วข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง
    1.มี H2S 2 โมล
    2.มี H+ 3.6*1024 ไอออน
    3.มี Cl- 5 โมล
    4.มี H2S 1.8*1023 โมเลกุล
    ตอบ 2.
    13.ปฏิกิริยาครึ่งเซลล์ต่อไปนี้ เมื่อดุลแล้ว c มีค่าเท่าไร
    a H++b NO-3+c e- d H2O+e NO
    1.2
    2.3
    3.4
    4.5
    ตอบ 2.
    14.ข้อความใดถูกต้องเกี่ยวกับถ่านไฟฉาย
    1.Zn เป็นขั้วแคโทด C เป็นขั้วแอโนด
    2.เมื่อต่อครบวงจรที่แคโทดเกิดปฏิกิริยาดังนี้ Zn2++2e- Zn
    3.เมื่อต่อครบวงจรกระแสไฟฟ้าไหลจากคาร์บอนไปยังสังกะสี
    4.มี MnO2 ทำหน้าที่เป็นอิเล็กโทรไลต์
    ตอบ 3.
    15.ข้อใดถุกต้องเกี่ยวกับเซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่ว
    1.PbO2 เป็นขั้วแอโนด
    2.PbO4 เป็นขั้วแอโนด
    3.สารละลายอิเล็กโทรไลต์คือสารละลาย H2SO4 ที่มีความถ่วงจำเพาะ =1.10
    4.ขั้ว Pb เป้นขั้วลบ และ PbO2 เป็นขั้วบวก
    ตอบ 4.
    16.เมื่อเซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่วจ่ายไฟ ข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง
    1.ที่ขั้ว PbO2 เกิดปฏิกิริยาออกเดชันได้ PbSO4
    2.กระแสไฟฟ้าไหลจากขั้ว Pb ไปยังขั้ว PbO2
    3.เมื่อจ่ายไฟไปนานๆสารละลาย H2SO4 จะเจือจางลง
    4.ขั้วแอโนดยังคงเป็น Pb ส่วนขั้วแคโทดกลายเป็น PbO2
    ตอบ 3.
    17.ถ้าต้องการชุบช้อนเหล็กด้วยสังกะสี จะต้องปฏิบัติอย่างไร
    1.ช้อนเป็นขั้วแอโนด
    2.ใช้สารละลาย FeCl3
    3.ใช้สารละลาย ZnCl2 หรือ ZnSO4 ก็ได้
    4.ต่อสังกะสีกับขั้วลบของแบตเตอรี่
    ตอบ 3.
    18.ในการทดลองชุบช้อนสังกะสีด้วยโลหะทองแดงควรปฏิบัติอย่างไร
    1.ใช้ทองแดงเป็นขั้วบวกหรือขั้วแคโทด
    2.ใช้สารละลาย ZnSO4 เป็นอิเล็กโทรไลต์
    3.ทองแดงถูกออกซิไดซ์ไปเคลือบที่ช้อนสังกะสี
    4.ใช้ไฟฟ้ากระแตรงและใช้แท่งทองแดงเป็นขั้วแคโทด
    ตอบ 3.
    19.เหล็กอยู่ในภาชนะใดจึงจะผุกกร่อนเร็วที่สุด
    1.มีน้ำและอากาศ
    2.มีอากาศและสารละลาย NaOH
    3.มีอากาศและสารลายของซัลเฟอร์ไตรไซด์
    4.มีน้ำ ออกวิเจน และโลหะสังกะสี
    ตอบ 3.
    20.สังกะสีที่มีตะกั่วปนอยู่ เมื่อนำมาทำให้บริสุทธิ์โดยใช้เซลล์อิเล็กโทรไลต์และใช้ค่าศักย์ไฟฟ้าที่เหมาะสม ข้อใดถูกต้อง
    1.มี Zn2+ นาสรละลายคงที่
    2.มี Pb2+ เกิดขึ้นในสารละลาย
    3.ปฏิกิริยาที่แคโทดคือ Pb2++2e- Pb
    4.มีตะกั่วเกาะที่ขั้วแคโทดแทนสังกะสี
    ตอบ 1.

    ตอบลบ
  18. นางสาวภาริดา พรวิลาศสิริ

    เซลล์ไฟฟ้าเคมี
    1.ปฏิกิริยาในข้อใดไม่เกิดขึ้นในถ่านไฟฉาย เมื่อต่อให้ครบวงจร
    1.
    2.
    3.
    4.
    ตอบ1วิธีคิด เพราะปฏิกิริยาดังกล่าวไม่ได้เกิดขึ้นในถ่านไฟฉายส่วนปฏิกิริยาอื่นล้วนแล้วแต่เกิดขึ้นในถ่านไฟฉายทั้งสิ้น
    2.เซลล์กัลป์วานิกในข้อใดเป็นเซลล์ชนิดทุติยภูมิ
    1.เซลล์เงิน 2.เซลล์เลอคลังเซ 3.เซลล์แอลคาไลน์ 4.เซลล์โลหะนิกเกิลไฮไดรด์ ตอบ4 วิธีคิด เพราะเซลล์โลหะนิเกิลไฮไดรด์ สามารถอัดไฟใหม่ได้ นิยมใช้กับโทรศัพท์มือถือ
    3.ตำแหน่งใดของตะปูเหล็กที่ผุกร่อนเร็วที่สุด
    .
    1. ตำแหน่งที่1 2. ตำแหน่งที่2 3.ตำแหน่งที่3 4.ผุเร็วพอๆกัน
    ตอบข้อ2 วิธีคิด เพราะตำแหน่งที่ 2 น้ำสัมผัสกับอากาศ

    4.เหล็กอยู่ในภาชนะใดจึงจะผุกร่อนเร็วที่สุด
    1. มีน้ำและอากาศ 2.มีอากาศและการละลาย NaOH
    3.มีอากาศและสารละลายของซัลเฟอร์ไดรออกไซด์ 4. มีน้ำ ออกซิเจน และโลหะสังกะสี
    ตอบข้อ3วิธีคิด เพราะสารละลายของซัลเฟอร์ไดรออกไซด์ คือสารละลายกรดซัลฟิวริก เมื่อมีอากาศอยู่ด้วยจึงทำให้เหล็กผุกร่อนเร็วมาก
    คำชี้แจง ใช้ค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานครึ่งเซลล์( ) ที่ ประกอบการอบคำถาม5-8
    ปฏิกิริยาครึ่งเซลล์
    -0.44
    -0.76
    -0.14
    +0.34V
    -0.13
    -0.25
    -0.54



    5.เหล็กพันด้วยโลหะใดที่สามารถป้องกันการผุกร่อนของเหล้กได้
    1.X 2. Y 3. Z 4. XและY
    ตอบ3 วิธีคิด โลหะที่พันรอบๆเหล็กแล้วสามารถป้องกันไม่ให้เหล็กผุกร่อนได้คือโลหะที่มีค่า น้อยกว่าเหล็กซึ่งได้แก่โลหะZส่วนโลหะX และYมีค่า สูงกว่าเหล็กจึงเร่งการผุกร่อนของเหล็ก
    6.โลหะคู่ใดเมื่อเชื่อมติดกันแล้วกล่าวถึงการผุกร่อนได้ถูกต้อง
    1.ดีบุก - ทองแดง ทองแดงผุกร่อน 2.X – Y Xผุกร่อน
    3. Y – Z Z ผุกร่อน 4.Zn – Z Z ผุกร่อน
    ตอบข้อ3วิธีคิด เพราะโลหะที่ผุกร่อนง่ายกว่าคือโลหะที่มีค่า น้อยกว่า เนื่องจากโลหะZมีค่า น้อยกว่าโลหะYดังนั้นโลหะZจึงผุกร่อน
    7. สังกะสีมุงหลังคาบ้านที่เป็นแผ่นเหล็กเคลือบด้วยสังกะสี และกระป๋องนมที่ทำจากเหล็กเคลือบด้วยดีบุก ถ้าตัดสังกะสีและกระป๋องนมออกเป็นชิ้น ชิ้นใดจะเป็นสนิมเร็วกว่า
    1.ชิ้นที่ตัดจากสังกะสีมุงหลังคาบ้าน 2.ชิ้นที่ตัดจากกระป๋องนม
    3.ผุเร็วพร้อมๆกันเพราะเป็นเหล็กเหมือนกัน 4.ทั้งสองชิ้นไม่เกิดสนิมเพราะสังกะสีและดีบุกป้องกันได้
    ตอบข้อ2 เพราะชิ้นที่ตัดจากกระป๋องนม เหล็กเคลือบด้วยดีบุก ดีบุกมีค่า สูงกว่าเหล็ก เมื่อสัมผัสกับอากาศและความชื้น ดีบุกจะเร่งให้เหล็กผุกร่อนเร็วขึ้น ส่วนสังกะสีมีค่า ต่ำกว่าเหล็ก สังกะสีจึงสามารถป้องกันการผุกร่อนของเหล็กได้


    8.วิธีใดที่ทำให้ตะปูเหล็กผุกร่อนเร็วขึ้น
    1.ต่อตะปูกับขั้วแคโทดของถ่านไฟฉาย 2.ต่อตะปูกับขั้วลบของถ่านไฟฉาย
    3.ต่อตะปูกับสังกะสี 4.ต่อตะปูกับโลหะ
    ตอบข้อ1 วิธีคิด ขั้วแคโทดของถ่านไฟฉายคือขั้วบวก เมื่อนำตะปูไปต่อกับขั้วบวกหรือขั้วแคโทดของถ่านไฟฉาย ตะปูจะเป็นขั้วแอโนด จึงผุกร่อนเร็วขึ้น



    9.การนำไปใช้ประโยชน์ของสารประกอบในข้อใด ไม่ถูกต้อง
    1.แมงกานิส (IV) ออกไซด์ใช้ในถ่านไฟฉาย
    2.เซลล์เงินและเซลล์นิแคดด่างก็เป็นเซลล์ทุติยภูมิ
    3.เซลล์เงินขณะจ่ายไฟเงินเป็นขั้วแคโทด
    4.เซลล์ปรอทละเซลล์เงินใช้อิเล็กโทรไลด์เหมือนกันคือ KOH
    ตอบข้อ3 วิธีคิด เพราะ เซลล์เงินขณะจ่ายไฟขั้วแคโทดคือ +แกรไฟต์




    10. เซลล์เชื้อเพลิงเป็นเซลล์ไฟฟ้าเคมีประเภทหนึ่ง เขียนสมการแสดงปฏิกิริยาได้ดังนี้
    โดยที่ปฏิกิริยาครึ่งเซลล์ประกอบด้วย

    ข้อใดถูกต้องที่สุดในการทำให้ได้ศักย์ไฟฟ้าของเซลล์มีค่ามากที่สุด
    1.กำจัดน้ำที่เกิดขึ้นออกไป 2.เพิ่มความดันก๊าชออกซิเจนละก๊าชไฮโดรเจน
    3.เพิ่มความเข้มข้นของ 4.ถูกต้องทุกข้อ
    ตอบข้อ2 วิธีคิด การเพิ่มความดันของก๊าช และก๊าช เป็นการเพิ่มปริมาณหรือความเข้มข้นของก๊าช และก๊าช



    ตอบลบ



  19. 11. การชุบช้อนด้วยโลหะเงิน โดยใช้กระแสไฟฟ้าควรจัดการทดลองดังนี้
    ขั้วแคโทด ขั้วแอโนด อิเล็กโทรไลด์ กระแสที่ใช้
    1. ช้อน โลหะเงิน ตรง
    2. โลหะเงิน ช้อน ตรง
    3. ช้อน โลหะเงิน สลับ
    4. โลหะเงิน ช้อน สลับ
    ตอบข้อ1วิธีคิด หลักในการชุบโลหะด้วยกระแสไฟฟ้าคือของที่จะชุบ (ช้อน) เป็นขั้วแคโทด โลหะที่จะใช้ชุบเป็นขั้วแอโนด (Ag) สารละลายอิเล็กทรอไลด์จะต้องประกอบด้วยไอออนของโลหะที่จะใช้ชุบ ( ) และใช้ไฟฟ้ากระแสตรง
    12. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการผุกร่อนของโลหะ
    1.โลหะที่มีค่า เป็นลบยิ่งมากขึ้น ยิ่งผุกร่อนได้ง่าย
    2.ถ้าโลหะสัมผัสกับออกซิเจนและสารละลายที่เป็นอิเล็กโทรไลด์ โลหะจะกร่อนได้ไวกว่าปกติ
    3.ถ้าโลหะAสัมผัสกับโลหะB ที่เสียอิเล็กตรอนได้ยากกว่าAจะผุกร่อนได้ยากกว่าปกติ
    4.เรือที่ทำด้วยเหล็ก ถ้าอับปางแล้วจมลงสู่ก้นทะเล จะผุกร่อนช้ากว่าเรือที่เกยตื้นอยู่ตามชายหาด
    ตอบข้อ3 เพราะโลหะB จะไปเร่งให้โลหะA ผุกร่อนเร็วขึ้น
    13. ข้อความใดถูกต้องที่สุดในการอธิบายขณะที่มีการจ่ายไฟของถ่ายไฟฉาย
    1. จะถูกรีดิวซ์ที่แคโทด
    2.ก๊าช ที่เกิดขึ้นที่แอโนดจะรวมตัวกับ เกิดเป็น
    3.ความต่างศักย์ระหว่างสองขั้วจะค่อยๆลดลง
    4.ข้อ 2 และ 3
    ตอบข้อ 3 วิธีคิด เมื่อถ่านไฟฉายจ่ายไฟไปเรื่อยๆ สารเคมีในเซลล์จะลดลงทำให้ความต่างศักย์ระหว่าง2ขั้วค่อยๆลดลง

    14. ถ้าให้โลหะAวางสัมผัสกับโลหะCข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
    1. C ช่วยป้องกันการผุกร่อนของ A โดย C ผุกร่อนแทน
    2. A เป็นตัวรีดิวซ์ดีกว่า C
    3. A ไอออนออกซิไดซ์โลหะ C
    4. A ไอออนถูกรีดิวซ์ด้วยโลหะC
    ตอบข้อ 2 วิธีคิด เพราะโลหะA เสียอิเล็กตรอนได้ง่ายกว่าโลหะC ดั้งนั้นโลหะA
    เป็นตัวรีดิวซ์ดีกว่าโลหะC
    15. จากการทดลองเกี่ยวกับการผุกร่อนของโลหะโดยเติมสารละลายโพแทสเซียมเฮกซะไชยาเฟลเรดซึ่งมีฟีนออฟทาลีนอยู่ ลงในถ้วยกระเบื้องต่อไปนี้
    ถ้วยที่ บรรจุ ผลการทดลอง
    1 ตะปูเหล็กพันด้วยแถบพลาสติก มีสีน้ำเงินเกิดขึ้น
    2 ตะปูเหล็กพันด้วยสังกะสี มีสีชมพูจางเกิดขึ้น
    3 ตะปูเหล็กพันด้วยแมกนีเซียม มีสีชมพูเข้มเกิดขึ้น
    ข้อสรุปใดถูกต้องที่สุด
    1.สารละลายในถ้วยทั้งสามมีฤทธิ์เป็นเบส
    2.โลหะสังกะสีไม่สามารถป้องกันการผุกร่อนของเหล็ก
    3.ฟีนอล์ฟทาลีนทำหน้าที่เป็นตัวรับอิเล็กตรอนจากโลหะ
    4.โลหะที่เสียอิเล็กตรอนยากที่สุด คือ แมกนีเซียม
    ตอบข้อ1 วิธีคิด เพราะในถ้วยทั้ง3ใบมี เกิดขึ้นทำให้สารละลายในถ้วยทั้ง3ใบ มีฤทธิ์เป็นเบส
    16. ในเรื่องเกี่ยวกับเซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่ว ข้อความในข้อใด ไม่ถูกต้อง
    1. เป็นเซลล์ทุติยภูมิ
    2. เป็นแอโนด
    3. สารละลาย เป็นอิเล็กโทรไลต์
    4. เป็นผลิตภัณฑ์ของทังออกซิเดชันและรีดักชัน
    ตอบข้อ2 วิธีคิด ขั้วแอโนดของเซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่วคือ Pb ไม่ใช่
    17. สิ่งใดไม่ควรปฏิบัติในการชุบโลหะด้วยไฟฟ้า
    1.ใช้โลหะที่ชุบเป็นแคโทดหรือขั้วลบขอเซลล์
    2.ใช้ของที่ชุบเป็นแคโทดหรือขั้วลบของเซลล์
    3.ใช้สารอิเล็กโทรไลต์มีไอออนของโลหะที่จะชุบ
    4.ใช้กระแสไฟตรง
    ตอบข้อ1 วิธีคิด เพราะการชุบโลหะด้วยไฟฟ้าโลหะที่จะชุบจะต้องต่อกับขั้วบวกของแบตเตอรี่ และเรียกว่าขั้วแอโนด ส่วนของที่จะชุบจะต้องต่อกับขั้วลบของแบตเตอรี่และเรียกว่าขั้วแคโทด
    18.การกระทำในข้อใดไม่ถูกต้องเมื้อต้องการชุบแท่งเหล็กด้วยโครเมียม
    1. ใช้โลหะโครเมียมเป็นแอโนดหรือเป็นขั้วบวก
    2. ใช้แท่งเหล็กเป็นแคโทดหรือเป็นขั้วลบ
    3.สารละลายอิเล็กโทรไลต์ต้องมีไอออนของโครเมียม
    4.ใช้โลหะครเมียมเป็นแคโทดหรือเป็นขั้วลบ
    ตอบข้อ4 วิธีคิด ในการชุบแท่งเหล็กด้วยโครเมียม โครเมียมต้องต่อกับขั้วบวกของแบตเตอรี่ จึงทำหน้าที่เป็นขั้วบวกหรือขั้วแอโนด
    19. ข้อใดเกิดการผุกร่อนของตะปูเหล็กน้อยที่สุด
    1. ตะปูที่วางไว้ในอากาศ 2.ตะปูที่ต่อกับขั้วลบของถ่ายไฟฉาย
    3.ตะปูที่ต่อกับดีบุก 4.ตะปูที่นำไปผ่านการอะโนไดช์
    ตอบข้อ4 วิธีคิดเพราะแมกนีเซียม น้อยที่สุด แสดงว่าแมกนีเซียมเสียอิเล็กตรอนได้ง่ายที่สุด ดั้งนั้นแมกนีเซียมจึงสามารถป้องกันไม่ให้ตะปูเหล็กผุกร่อนได้ดีที่สุด
    20.ผลที่ได้รับจากเซลล์เชื้อเพลิง
    1. พลังงานไฟฟ้าและความร้อน 2. พลังงานไฟฟ้า น้ำบริสุทธิ์และอากาศไม่เป็นพิษ
    3.พลังงานไฟฟ้า ความร้อน และน้ำบริสุทธิ์ 4. พลังงานไฟฟ้าเพียงอย่างเดียว
    ตอบข้อ3 วิธีคิด เซลล์เชื้อเพลิง นอกจากจะได้พลังงานไฟฟ้าและไอน้ำแล้วยังมีความร้อนเกิดขึ้นด้วย

    ตอบลบ
  20. นางสาวณภัทร คำผิว
    1.การเก็บสารเคมีในภาชนะดังข้อใดเป็นข้อปฎบัติที่ปลอดภัยและสารที่เก็บยังคงสภาพเดิม
    1.Al2(SO4)3ในภาชนะ Zn 2.SnCl2 ในภาชนะ Al
    3.Cr(NO3)3ในภาชนะ Zn 4.ZnSO4 ในภาชนะ Al
    ตอบ1.
    2. ปฏิกิริยาใดเกิดเองไม่ได้

    1.Sn+Cu2+Sn2+Cu 2.Cd+Fe2+Cd2+ +Fe
    3.Cr+3Ag+Cr3+ +3Ag 4.Mn+Zn2+Mn2+ +Zn
    ตอบ2
    3.กำหนดให้ Mg(s) / Mg2+(aq) // Zn2+(aq) / Zn(s) ; E0cell = +1.62 V Zn(s) / Zn2+(aq) // H+(aq,1mol/dm3),H2 (g,1 atm ) / Pt( s ); E0cell = +0.76 V
    ศักย์ไฟฟ้าครึ่งเซลล์ของ Mg(s) / Mg2+ (aq) มีค่าเท่าใด

    1.2.38 V 2.0.86 V
    3.-0.86 V 4.-2.38 V
    ตอบ4
    4.คู่ของเซลล์ที่สภาวะมาตรฐานที่มีค่าศักย์ไฟฟ้าต่ำที่สุดคือข้อใด

    1. Cu / Cu2+(1M) และ Ni / Ni2+(1M)
    2. Fe / Fe2+(1M) และ Zn / Zn2+(1M)
    3. Cu / Cu2+(1M) และ Fe / Fe2+(1M)
    4.Ni / Ni2+(1M) และ Fe / Fe2+(1M)
    ตอบ4
    5.ไอออนคู่ใดที่อยู่ด้วยกันแล้วสามารถเกิดปฏิกิริยาขึ้นได้

    1.Zn2+,2Na+, 2.2Na+S2-
    3.Fe2+ , Hg2+ 4.Cr3+,MnO4
    ตอบ4
    6.จากสารที่กำหนดให้สารใดเป็นตัวรีดิวซ์ที่ดีที่สุด

    1.Zn2+ 2.Na+
    3.S2- 4.Fe2+
    ตอบ3
    7.การเตรียม NaOH ได้จากข้อใดการอิเล็กโทรลิซิสสารละลาย NaCl
    2. การอิเล็กโทรลิซิสสารละลาย Na2SO4
    3. ปฏิกิริยาในเซลล์กัลป์วานิกที่ประกอบด้วยขั้ว Pt จุ่มในสารละลาย NaCl
    4. ปฏิกิริยาในเซลล์กัลป์วานิกที่ประกอบด้วยขั้ว Pt จุ่มในสารละลาย Na2SO4
    ตอบ1
    8.จากการอิเล็กโทรลิซิสสารละลาย KNO3และ CuBr2 ให้ทำนายปฏิกิริยาที่จะเกิดขึ้น ถ้าสารละลาย Cu(NO3)2ถูกอิเล็กโทรไลต์
    1. 2H2O O2 + H2
    2. 4K+(aq) + H2O 4K(s) + O2 + 4H+
    3. Cu2+(aq) + 2Br-(aq) Cu(s) + Br2(g)
    4.2Cu2+(aq) + H2O 2Cu(s) + O2 + 4H+
    ตอบ4
    9.เซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่วมีอายุการใช้งานระยะหนึ่ง เพราะเหตุใด
    1. เป็นเซลล์ชนิดปฐมภูมิ
    2. สามารถประจุไฟได้เพียง 2 ครั้ง
    3.PbSO4 ที่เกิดขึ้นขณะจ่ายไฟหลุดออกมาทำให้ขั้วตะกั่วสึกกร่อนได
    4. ขณะจ่ายไฟมี PbSO4 เกิดขึ้นทั้งสองขั้ว ทำให้ไม่สามารถจ่ายไฟอีกต่อไป
    ตอบ3

    ตอบลบ
  21. นางสาวณภัทร คำผิว
    10.ตะปูจะเป็นสนิมในหลอดใด
    1.หลอดที่ 1 2.หลอดที่ 2
    3.หลอดที่ 3 4.หลอดที่ 4
    ตอบ3
    11.การเป็นสนิมจะทำให้เกิดได้เร็วขึ้นเมื่อมีสารใดพันอยู่กับตะปู
    1.ดีบุก 2.สังกะสี
    3.โครเมียม 4.แมกนีเซียม
    ตอบ1
    12.สิ่งใดไม่ควรปฎิบัติในการชุบโลหะด้วยไฟฟ้า
    1.ใช้กระแสไฟฟ้าตรง
    2.ใช้ของที่ชุบเป็นแอโนดหรือขั้วบวกของเซลล์
    3.ใช้โลหะที่ชุบเป็นแคโทดหรือขั้วลบของเซลล์
    4.ในสารละลายอิเล็กโทรไลต์มีไออนของโลหะที่จะชุบ
    ตอบ4
    13.ผลที่ได้รับจากเซลล์เชื้อเพลิง H2 – O2
    1.พลังงานไฟฟ้าและความร้อน
    2.พลังงานไฟฟ้าน้ำบริสุทธิ์และอากาศไม่เป็นพิษ
    3.พลังงานไฟฟ้าความร้อนและน้ำบริสุทธิ์
    4.พลังงานไฟฟ้าเพียงอย่างเดียว
    ตอบ2
    14.ถ้าต้องการป้องกันการผุกร่อนด้วยวิธีแคโทดิก ข้อใดถูกต้อง
    1.Q ป้องกันการผุกร่อนของ P ได้ 2.R ป้องกันการผุกร่อนของ S ได้
    3.T ป้องกันการผุกร่อนของ P และ Q ได้ 4.R ป้องกันการผุกร่อนของ S และ T ได้
    ตอบ3
    15.ข้อความเกี่ยวกับเซลล์นิแคดต่อไปนี้ข้อใดไม่ถูกต้อง
    1.สามารถอัดไฟใหม่ได้ 2.ใช้ Cd เป็นขั้วลบ
    3.ใช้ NiO2 เป็นแคโทด 4.ใช้ NiO2 เป็นอิเล็กไทรไลต์
    ตอบ4
    16.การป้องกันการผุกร่อนด้วยวิธีอะไนซ์ข้อใดถูกต้อง
    1.ใช้ R ผูกติดกับ S โดยให้ S ทำหน้าที่เป็นแคโทด
    2.Pเกิดปฏิกิริยากับออกซิเจนได้ออกไซด์ของ P ซึ่งป้องกันการผุกร่อนของ P
    3.ใช้Pผูกติดกับ Q ป้องกันการผุกร่อนของ P เพราะ Eoของ P น้อยกว่า Eoของ Q
    4.การป้องกันการผุกร่อนของ Q ด้วยวิธีอะโนไดซ์คือการเคลือบสารป้องกันการผุกร่อนของ Q
    17. การผุกร่อนของโลหะเกิดจาก
    1. โลหะรับอิเล็กตรอนโดยมีน้ำเสียอิเล็กตรอน
    2. โลหะเสียอิเล็กตรอนโดยน้ำรับอิเล็กตรอน
    3. โลหะเสียอิเล็กตรอนโดยมีน้ำและออกซิเจนรับอิเล็กตรอน
    4. โลหะรับอิเล็กตรอนโดยมีน้ำและออกซิเจนเสียอิเล็กตรอน
    ตอบ3
    18. แหล่งพลังงานธรรมชาติที่นักวิทยาศาสตร์ค้นหา เพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนน้ำมันเชื้อเพลิงในอนาคตที่สามารถใช้เป็นแหล่งกำเนิดไฟฟ้าที่ไม่ทำให้เกิดภาวะมลพิษของอากาศ ได้แก่
    1.เซลล์เชื้อเพลิงไฮโดรเจน – ออกซิเจน 2.เซลล์เชื้อเพลิงโพรเพน – ออกซิเจน
    3.เซลล์สุริยะ 4.เซลล์ปฐมภูมิ
    ตอบ3
    19.การป้องกันการผุกร่อนด้วยวิธีแคโทนิก คืออะไร
    1.การทำให้โลหะมีสภาวะเป็นกรด 2.การทำให้โลหะมีสภาวะเป็นแอโนด
    3.การต่อตะปูเหล็กเข้ากับขั้วลบของถ่านไฟฉาย
    4.การต่อตะปูเหล็กเข้ากับขั้วบวกของถ่านไฟฉาย
    ตอบ3.
    20.ข้อความเกี่ยวกับเซลล์เชื้อเพลิงไฮโรเจน-ออกซิเจน ต่อไปนี้ข้อได้ผิด
    1.ที่แอโนดเป็นปฏิกิริยาออกซิเดชันของไฮโดรเจนโดยมีไฮดรอกไซด์ไอออนเข้าร่วมในปฏิกิริยา
    2.ต้องบรรจุเชื้อเพลิงเข้าไปในเซลล์ต่อเนื่องอยู่ตลอกเวลา
    3.พลังงานเคมีของเชื้อเพลิงถูกเปลี่ยนเป็นพลังงานไฟฟ่า
    4.น้ำซึ่งเป็นผลผลิตของปฏิกิริยาจะแยกสลายเป็นไฮโดรเจน และออกซิเจน ซึ่งนำกลับมาใช้ใหม่ได้อีก
    ตอบ3

    ตอบลบ
  22. นางสาวกนอร ศรีวงษ์
    1. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์จากการนำเซลล์อิเล็กโทรไลต์มาประยุกต์ใช้ในทางอุตสาหกรรม
    ก.การชุบโลหะ
    ข.การเจียระไนเพชร
    ค.การแยกสารละลายเกลือ
    ง.การถลุง หรือการแยกแร่
    ตอบข้อ ข.

    2. อิเล็กโทรไลต์ คือ
    ก. สารที่สามารถแตกตัวเป็นไอออนอิสระเมื่อละลายน้ำหรือหลอมเหลว
    ข. สารเคมีที่มีประสิทธิภาพการทำลายล้างสูง
    ค. สารที่ทำให้เกิดการเผาไหม้ได้อย่างรุนแรง
    ง. ไม่มีข้อใดถูก
    ตอบข้อ ก.

    3. การทำให้โลหะชนิดหนึ่งเคลือบอยู่บนผิวของโลหะอีกชนิดหนึ่งเรียกว่าอะไร
    ก. การชุบโลหะด้วยโลหะ
    ข . การชุบโลหะด้วยกระแสไฟฟ้า
    ค . การเคลือบโลหะด้วยโลหะ
    ง . การเคลือบโลหะด้วยกระแสไฟฟ้า
    ตอบข้อ ข.

    4. เพราะเหตุใดโลหะทองแดงที่ได้จากการถลุงสินแร่จึงสามารถนำไฟฟ้าได้น้อย
    ก. เพราะมีราคาถูก
    ข. เพราะมีความหนาแน่นของมวลสารมาก
    ค. เพราะมีความบริสุทธิ์น้อย และมีสิ่งอื่นเจือปน
    ง. เพราะเป็นโลหะที่มีความบริสุทธิ์มาก
    ตอบข้อ ค.
    5. การทำโลหะทองแดงให้บริสุทธิ์ ทำได้โดยการนำทองแดงไม่บริสุทธิ์ไปต่อเป็นขั้วแอโนด และใช้ทองแดงบริสุทธิ์เป็นขั้วแคโทด โดยขั้วไฟฟ้าทั้งสองอยู่ในสารละลายผสมของสารละลายใด
    ก. H2SO4 กับ ZnSO4
    ข. HCI กับ CuSO4
    ค. ZnSO4 กับ HCI
    ง. CuSO4 กับ H2SO4
    ตอบข้อ ง.
    6. วัตถุดิบสำคัญที่ใช้ในการผลิตโลหะแมกนีเซียม คือ
    ก. น้ำเปล่า
    ข. น้ำกรด
    ค. น้ำคลอง
    ง. น้ำทะเล
    ตอบข้อ ง.
    7. การทำโลหะให้มีสภาวะเป็นแคโทด หรือคล้ายแคโทด โดยพันโลหะที่ไม่ต้องการให้เกิดสนิมด้วยโลหะที่มีศักย์ไฟฟ้าต่ำกว่า เรียกว่าวิธีการใด
    ก. แคโทดิวซ์
    ข. แอโนดิวซ์
    ค. แคโทดิก
    ง. แอโนดิก
    ตอบข้อ ค.
    8. แบตเตอรี่อะลูมิเนียม-อากาศที่ใช้ในโลหะอะลูมิเนียมเป็นแอโนด เมื่อต่อเซลล์โลหะอะลูมิเนียมจะเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน คือ
    ก. Mg2+
    ข. Al3+
    คFe2+
    ง Zn2+
    ตอบข้อ ข.
    9. การผลิตโลหะอะลูมิเนียมทำได้กี่วิธี
    ก.1 วิธี
    ข.2 วิธี
    ค. 3 วิธี
    ง.4 วิธี
    ตอบข้อ ข.

    10. เพราะเหตุใดโลหะบางชิด เช่น อะลูมิเนียม โครเมียม เมื่อโดนน้ำจึงไม่เกิดการผุกร่อน
    ก. เพราะเมื่อโลหะชนิดนี้ทำปฏิกิริยากับแก๊สออกซิเจนในอากาศจะเกิดออกไซด์ของโลหะเคลือบบนผิวของโลหะนั้น และจับผิวแน่น ทำให้ผิวด้านในไม่สัมผัสกับน้ำและแก๊สออกซิเจน
    ข.เพราะนำโลหะไปเคลือบเกลือโครเมตซึ่งมีสารยับยั้งการผุกร่อน
    ค.เพราะโลหะชนิดนี้มีความแข็งแรง และมีประสิทธิภาพในการป้องกันการผุกร่อน
    ง.ถูกทุกข้อ
    ตอบข้อ ก.

    ตอบลบ
  23. นางสาวกนกอร ศรีวงษ์
    11.การป้องกันการผุกร่อนของอุโมงค์ หรือท่อเหล็กใต้ดิน ทำได้โดยการต่อท่อเหล็ก(A) เข้ากับ
    สารชนิดอื่น(B) ข้อความใดต่อไปนี้ผิด
    ก.โลหะ A เป็นตัวรีดิวซ์ที่ยากกว่า B
    ข.เมื่อเวลาผ่านไปมวลของ B อาจลดลง
    ค.A ทำหน้าที่เป็นขั้วลบ เกิดปฏิกิริยารีดักชัน
    ง.B ให้อิเล็กตรอนได้ง่ายกว่า A , B จึงทำหน้าที่เป็นแอโนด
    ตอบ ค
    12.ในการทำสะพานไอออน เพราะเหตุใดจึงเลือกใช้สารละลายอิ่มตัวของ KNO3 แทนการใช้สารละลายไม่อิ่มตัวของ KNO3
    ก. ต้องการให้นำไฟฟ้าได้ดี
    ข.รักษาสมดุลระหว่างไอออนบวกและไอออนลบได้แน่นอน
    ค. มีระยะเวลาการใช้งานได้นาน
    ง. ให้ไอออนเคลื่อนผ่านสะพานไอออนได้เร็ว
    ตอบ ข
    13.. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับปฏิกิริยาออกซิเดชันและปฏิกิริยารีดักชัน
    ก. ปฏิกิริยาออกซิเดชันประกอบด้วยสารที่ให้อิเล็กตรอนและรับอิเล็กตรอน
    ข. ปฏิกิริยารีดักชันเป็นปฏิกิริยาที่มีเลขออกซิเดชันเพิ่มขึ้น
    ค. ปฏิกิริยาออกซิเดชันเป็นปฏิกิริยาที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชัน
    ง. ปฏิกิริยารีดักชันประกอบด้วยสารที่รับอิเล็กตรอน
    ตอบ ก
    14.ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับตัวออกซิไดซ์ ตัวรีดิวซ์
    ก. ตัวออกซิไดซ์รับอิเล็กตรอน ตัวรีดิวซ์ให้อิเล็กตรอน
    ข. ตัวออกซิไดซ์ให้อิเล็กตรอน ตัวรีดิวซ์รับอิเล็กตรอน
    ค. ตัวออกซิไดส์และตัวรีดิวซ์ให้อิเล็กตรอน
    ง. ตัวออกซิไดส์และตัวรีดิวซ์รับอิเล็กตรอน
    ตอบ ก
    15.ข้อมูลต่อไปนี้ตอบคำาถามเกี่ยวกับปฏิกิริยารีดอกซ์
    ก. ปฏิกิริยาที่เลขออกซิเดชันของสารไม่เปลี่ยนแปลง
    ข. ปฏิกิริยาที่มีการถ่ายโอนอิเล็กตรอนแล้วมีการเพิ่มและลดเลขออกซิเดชัน
    ค. เกิดทั้งออกซิเดชันและรีดักชันในขณะเดียวกัน
    ง. มีอะตอมของธาตุออกซิเจนเข้ามาเกี่ยวข้องเสมอ
    ตอบ.ง
    16.จากปฏิกิริยาที่กำหนดให้ข้อใดแสดงครึ่งปฏิกิริยารีดักชันได้ถูกต้อง
    2Al(s) + 6H+(aq) → 2Al3+(aq) + 3H2(g)
    ก. 2Al(s) → 2Al3+(aq) + 6e
    ข.2Al(s) + 6e- → 2Al3+(aq)
    ค. 6H+(aq) → 3H2(g) + 6e
    ง.2H+(aq) + 2e→ H2(g)
    ตอบ ค
    17.. จากปฏิกิริยาต่อไปนี้ข้อใดเป็นปฏิกิริยารีดอกซ์
    ก. 2HCl(aq) + Na2CO3(aq) → 2NaCl(aq) + H2O(l) + CO2(g)
    ข. 2HCl(aq) + Na2S2O3(aq) → 2NaCl(aq) + SO2(g) + H2O(l) + S(s)
    ค. HCO3-(aq) + OH(aq)→ H2O(l) + CO32-(aq)
    ง. 2K2CrO4(aq) + H2SO4(aq) → K2Cr2O7(aq) + K2SO4(aq) + H2O(l)
    ตอบ ก
    18. ถ้าปฏิกิริยาออกซิเดชันคือ Al(s) Al3+(aq) + 3eและปฏิกิริยารีดักชันคือ 2H+(aq) + 2e H2
    (g) ข้อใดแสดงปฏิกิริยารีดอกซ์ที่ถูกต้อง
    ก. 2Al(s) + 6H+(aq)  2Al3+(aq) + 3H2(g)
    ข. 2Al3+(aq) + 3H2(g)  2Al(s) + 6H+(aq)
    ค. Al(s) + 2H+(aq)  Al3+(aq) + H2(g)
    ง. 2Al(s) + 2H+(aq)  2Al3+(aq) + H2(g)
    ตอบง
    19.จากปฏิกิริยาที่ก าหนดให้ข้อใดแสดงครึ่งปฏิกิริยารีดักชันได้ถูกต้อง 2Al(s) + 6H+(aq) → 2Al3+(aq) + 3H2(g)
    ก. 2Al(s) → 2Al3+(aq) + 6e
    ข.2Al(s) + 6e- → 2Al3+(aq)
    ค. 2H+(aq) + 2e→ H2(g)
    ง. 6H+(aq) → 3H2(g) + 6e
    ตอบค
    20.เซลล์กัลป์วานิกในข้อใดเป็นเซลล์ชนิทุติยภูมิ
    ก.เซลล์เงิน ข.เซลล์เลอคลังเซ
    ค.เซลล์แอลคาไลน์ ง.เซลล์โลหะนิกเกิลไฮไดรด์
    ตอบง

    ตอบลบ
  24. นางสาวกนกอร ศรีวงษ์
    11.การป้องกันการผุกร่อนของอุโมงค์ หรือท่อเหล็กใต้ดิน ทำได้โดยการต่อท่อเหล็ก(A) เข้ากับ
    สารชนิดอื่น(B) ข้อความใดต่อไปนี้ผิด
    ก.โลหะ A เป็นตัวรีดิวซ์ที่ยากกว่า B
    ข.เมื่อเวลาผ่านไปมวลของ B อาจลดลง
    ค.A ทำหน้าที่เป็นขั้วลบ เกิดปฏิกิริยารีดักชัน
    ง.B ให้อิเล็กตรอนได้ง่ายกว่า A , B จึงทำหน้าที่เป็นแอโนด
    ตอบ ค
    12.ในการทำสะพานไอออน เพราะเหตุใดจึงเลือกใช้สารละลายอิ่มตัวของ KNO3 แทนการใช้สารละลายไม่อิ่มตัวของ KNO3
    ก. ต้องการให้นำไฟฟ้าได้ดี
    ข.รักษาสมดุลระหว่างไอออนบวกและไอออนลบได้แน่นอน
    ค. มีระยะเวลาการใช้งานได้นาน
    ง. ให้ไอออนเคลื่อนผ่านสะพานไอออนได้เร็ว
    ตอบ ข
    13.. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับปฏิกิริยาออกซิเดชันและปฏิกิริยารีดักชัน
    ก. ปฏิกิริยาออกซิเดชันประกอบด้วยสารที่ให้อิเล็กตรอนและรับอิเล็กตรอน
    ข. ปฏิกิริยารีดักชันเป็นปฏิกิริยาที่มีเลขออกซิเดชันเพิ่มขึ้น
    ค. ปฏิกิริยาออกซิเดชันเป็นปฏิกิริยาที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชัน
    ง. ปฏิกิริยารีดักชันประกอบด้วยสารที่รับอิเล็กตรอน
    ตอบ ก
    14.ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับตัวออกซิไดซ์ ตัวรีดิวซ์
    ก. ตัวออกซิไดซ์รับอิเล็กตรอน ตัวรีดิวซ์ให้อิเล็กตรอน
    ข. ตัวออกซิไดซ์ให้อิเล็กตรอน ตัวรีดิวซ์รับอิเล็กตรอน
    ค. ตัวออกซิไดส์และตัวรีดิวซ์ให้อิเล็กตรอน
    ง. ตัวออกซิไดส์และตัวรีดิวซ์รับอิเล็กตรอน
    ตอบ ก
    15.ข้อมูลต่อไปนี้ตอบคำาถามเกี่ยวกับปฏิกิริยารีดอกซ์
    ก. ปฏิกิริยาที่เลขออกซิเดชันของสารไม่เปลี่ยนแปลง
    ข. ปฏิกิริยาที่มีการถ่ายโอนอิเล็กตรอนแล้วมีการเพิ่มและลดเลขออกซิเดชัน
    ค. เกิดทั้งออกซิเดชันและรีดักชันในขณะเดียวกัน
    ง. มีอะตอมของธาตุออกซิเจนเข้ามาเกี่ยวข้องเสมอ
    ตอบ.ง
    16.จากปฏิกิริยาที่กำหนดให้ข้อใดแสดงครึ่งปฏิกิริยารีดักชันได้ถูกต้อง
    2Al(s) + 6H+(aq) → 2Al3+(aq) + 3H2(g)
    ก. 2Al(s) → 2Al3+(aq) + 6e
    ข.2Al(s) + 6e- → 2Al3+(aq)
    ค. 6H+(aq) → 3H2(g) + 6e
    ง.2H+(aq) + 2e→ H2(g)
    ตอบ ค
    17.. จากปฏิกิริยาต่อไปนี้ข้อใดเป็นปฏิกิริยารีดอกซ์
    ก. 2HCl(aq) + Na2CO3(aq) → 2NaCl(aq) + H2O(l) + CO2(g)
    ข. 2HCl(aq) + Na2S2O3(aq) → 2NaCl(aq) + SO2(g) + H2O(l) + S(s)
    ค. HCO3-(aq) + OH(aq)→ H2O(l) + CO32-(aq)
    ง. 2K2CrO4(aq) + H2SO4(aq) → K2Cr2O7(aq) + K2SO4(aq) + H2O(l)
    ตอบ ก
    18. ถ้าปฏิกิริยาออกซิเดชันคือ Al(s) Al3+(aq) + 3eและปฏิกิริยารีดักชันคือ 2H+(aq) + 2e H2
    (g) ข้อใดแสดงปฏิกิริยารีดอกซ์ที่ถูกต้อง
    ก. 2Al(s) + 6H+(aq)  2Al3+(aq) + 3H2(g)
    ข. 2Al3+(aq) + 3H2(g)  2Al(s) + 6H+(aq)
    ค. Al(s) + 2H+(aq)  Al3+(aq) + H2(g)
    ง. 2Al(s) + 2H+(aq)  2Al3+(aq) + H2(g)
    ตอบง
    19.จากปฏิกิริยาที่ก าหนดให้ข้อใดแสดงครึ่งปฏิกิริยารีดักชันได้ถูกต้อง 2Al(s) + 6H+(aq) → 2Al3+(aq) + 3H2(g)
    ก. 2Al(s) → 2Al3+(aq) + 6e
    ข.2Al(s) + 6e- → 2Al3+(aq)
    ค. 2H+(aq) + 2e→ H2(g)
    ง. 6H+(aq) → 3H2(g) + 6e
    ตอบค
    20.เซลล์กัลป์วานิกในข้อใดเป็นเซลล์ชนิทุติยภูมิ
    ก.เซลล์เงิน ข.เซลล์เลอคลังเซ
    ค.เซลล์แอลคาไลน์ ง.เซลล์โลหะนิกเกิลไฮไดรด์
    ตอบง

    ตอบลบ
  25. นางสาวนริศรา สว่างอารมย์ ม.5/1 เลขที่24
    **เพิ่มมมมม**********
    1) จากข้อมูลต่อไปนี้

    Zn2+ +2e ----> Zn. E=-0.76v
    Sn2+ +2e ---->Sn E=-0.14
    Fe2+ +2e ----> Fe. E=-0.44
    Mg2+ +2e ----> Mg. E=-2.37
    Cu2+ + 2e ----> Cu. E=+0.34

    ธาตุใดเมื่ออยู่ใกล้เหล็กจะทำให้เหล็กผุกกร่อนเร็วมากที่สุด
    1.สังกะสี
    2.ดีบุก
    3. แมกนีเซียม
    4.ทองแดง
    #ตอบ 4 เพราะ เหล็กจ่ายอิเล็กตรอนให้กับธาตุที่มีE0 มากที่สุด

    2) จากการศึกษาการผุกร่อนของโลหะ X พบว่าเมื่อนำชิ้นโลหะY มาผูกไว้กับXจะช่วยป้องกันการผุกร่อนของXได้ ข้อความใดควรเป็นสมบัติของXและY
    1.โลหะX เป็นตัวรีดิวซ์ที่ดีกว่าY
    2.โลหะXให้อิเล็กตรินง่ายกว่าY
    3.โลหะYเป็นตัวรีดิวซ์ที่ดีกว่าX
    4.ค่าE0 ของYมากกว่าค่าE0ของX
    #ตอบ 3 เพราะY จ่ายeแทนX รับe X>Y

    3) ค่าศักย์ไฟฟ้ามาตราฐานของครึ่งเซลล์ไฟฟ้าโคบอลต์-โคบอลต์ไอออน มีค่ากี่โวลต์
    ก.-2.99
    ข.-0.27
    ค.0.27
    ง.2.99
    #ตอบ ข. วิธีทำEcell=Ecl-Eco
    1.63=1.36-Eco
    Eco=1.36-1.63
    =-0.27

    4) จากข้อมูลต่อไปนนี้
    ก.Znไม่ทำปฏิกิริยากับน้ำึแต่ Na ทำปฏิกิริยารุนแรงกับน้ำ
    ข. จุ่มCuลงในสารละลายAgNO3สารละลายจะเปลี่ยนเป็นสีฟ้าอ่อน
    ค.จุ่มZnลงในสารละลายCuSO4สีฟ้าของสารละลายจางลง
    จงเรียงลำดับความสามารถในการเป็นตัวรีดิวซ์จากมมากไปน้อย
    1. Na,Zn,Cu,Ag
    2.Zn,NaCu,Ag
    3.Cu,Zn,Ag,Na
    4.Ag,Cu,Zn,Na
    #ตอบ 1 เพราะNa>Zn>Cu>Ag

    ตอบลบ
  26. 1เปรียบเทียบ เซลล์กัลวานิก และ เซลล์อิเล็กโทรไลต์ โดยพิจารณาข้อสรุปต่อไปนี้
    ก. ไอออนบวกจะเคลื่อนที่เข้าหาขั้วลบ และไอออนลบจะวิ่งเข้าหาขั้วบวกเสมอในเซลล์ทั้งสองชนิด
    ข. ในเซลล์กัลวานิก ไอออนบวกจะวิ่งไปที่แอโนด และไอออนลบจะวิ่งไปที่แคโทด
    ในเซลล์อิเล็กโทรไลต์ ไอออนบวกและลบจะวิ่งไปที่แคโทดและแอโนด ตามลำดับ
    ค. ในเซลล์กัลวานิก ขั้วของแอโนดและแคโทดจะเป็นขั้วลบ และบวกตามลำดับส่วนใน
    เซลล์อิเล็กโทรไลต์ แอโนด คือขั้วบวก และแคโทดคือขั้วลบ
    ง. อิเล็กตรอนไหลจาก แอโนดไปแคโทด เมื่อต่อสายภายนอกของเซลล์กัลวานิก ส่วนใน
    เซลล์อิเล็กโทรไลต์ อิเล็กตรอนมาจากแบตเตอรี่เข้าสู่ขั้วแอโนด
    ข้อใดสรุปถูก
    1. ค เท่านั้น
    2. ข, ง เท่านั้น
    3. ก, ง เท่านั้น
    4. ก, ค, ง เท่านั้น
    ตอบ ข้อ 1
    2เซลล์ถ่านไฟฉายมีอิเล็กโทรไลต์เป็น มีแท่งแกรไฟต์เป็นแคโทด ปฏิกิริยาที่ขั้วลบ เป็นดังข้อใด
    1.2+(aq)+2e- Zn(s)
    2.2MnO2(s)+H2O(l)+2e- Mn2O3(s)+2OH-(aq)
    3.(s) Zn2+(aq) + 2e-
    4.2+(aq) Mn3+(aq)+e-
    ตอบ 3
    3เมื่อจุ่มแท่งโลหะลงในสารละลายของดลหะไอออนต่างๆ กัน
    จากข้อมูล ลำดับความสามารถในการรับอิเล็กตรอนจากมากไปน้อยคือข้อใด
    1.Zn2+>Fe2+>Cu2+>Ag+
    2.Cu2+>Ag+>Zn2+>Fe2+
    3.Fe2+>Zn2+>Cu2+>Ag+
    4.Ag+>Cu2+>Fe2+>Fe2+>Zn2+
    ตอบ 4.
    4การป้องกันการผุกร่อนของตะปูเหล็กข้อใดไม่ถูกต้อง

    1. นำตะปูต่อเข้ากับขั้วบวกของไฟฉาย
    2. นำตะปูไปทำอะโนไดซ์
    3. นำตะปูไปทำแคโทดิก
    4. นำตะปูไปทำร่มดำ
    ตอบ 1
    5พิจารณาการทดลองและผลต่อไปนี้
    การทดลอง ผล
    จุ่มลวดทองแดงลงในสารละลาย สารละลายมีสีฟ้า
    Ag+

    จุ่มลวดสังกะสีลงในสารละลาย สารละลายสีฟ้ามีสีจางลง
    Cu2+

    จุ่มลวดเหล็กลงในสารละลาย Cu2+ สารละลายสีฟ้าอมเขียว

    จากข้อมูลข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
    1. ทองแดงเป็นตัวรีดิวซ์ที่ดีที่สุด
    2. เป็นตัวรีดิวซ์ที่ดีกว่าสังกะสี
    3. เหล็กเป็นตัวรีดิวซ์ที่ดีกว่าสังกะสี
    4. เป็นตัวออกซิไดซ์ที่ดีที่สุด
    ตอบ 4
    6ผลการสังเกตในข้อใดถูก
    ก. จุ่มเหรียญเงินในสารละลาย เงินจะสึกกร่อนออกมา
    ข. จุ่มเหรียญสังกะสีในสารละลาย สังกะสีจะสึกกร่อนออกมา
    ค. จุ่มเหรียญทองแดงในสารละลาย ทองแดงจะสึกกร่อนออกมา
    ง. จุ่มเหรียญตะกั่วในสารละลาย ตะกั่วจะสึกกร่อนออกมา
    1. ก และ ข
    2. ก และ ค
    3. ข และ ค
    4. ข และ ง
    ตอบ 4
    จากค่า ของปฏิกิริยาที่กำหนดให้
    =-2.9 V
    =-0.8 V
    =+0.5 V
    =+1.2 V
    ในการสร้างเซลล์อิเล็กโทรไลต์ดังรูปเพื่อแยกสารละลาย XY ข้อใดสรุปผิด
    1. เกิด OH- ที่ขั้วแคโทด
    2. เกิดก๊าซไฮโดรเจนที่ขั้วแคโทด
    3. เกิดก๊าซออกซิเจนที่ขั้วแอโนด
    4. เกิดก๊าซ ที่ขั้วแอโนด
    ตอบ 3
    8ในการแยกสารละลายในน้ำของ ด้วยไฟฟ้า ปฏิกิริยาครึ่งเซลล์ที่เกี่ยวข้องคือ
    = -0.40 V
    = +1.30 V
    = -0.83 V
    =+1.23 V
    เมื่อพิจารณาข้อสรุปต่อไปนี้
    ก. ปฏิกิริยา III มีศักย์ไฟฟ้าสูงกว่าปฏิกิริยา I ที่แคโทดจึงเกิดก๊าซไฮโดรเจน
    ข. ถูกรีดิวซ์ได้ง่ายกว่า จึงเกิด Cd(s) ที่แคโทด
    ค. ปฏิกิริยา IV มีศักย์ไฟฟ้าต่ำกว่าปฏิกิริยา II จึงเกิดก๊าซออกซิเจนที่แอโนด
    ง. ถูกออกซิไดซ์ได้ง่ายกว่าน้ำ จึงเกิดก๊าซคลอรีนที่แอโนด
    ข้อใดสรุปถูก
    1. ก. และ ค.
    2. ข. และ ง.
    3. ข. และ ค.
    4. ก. และ ง.
    ตอบ 3
    9การป้องกันการผุกร่อนของอุโมงค์ หรือท่อเหล็กใต้ดิน กระทำได้โดยการต่อท่อเหล็ก (A) เข้ากับสารชนิดอื่น (B)
    ข้อความใดต่อไปนี้ผิด

    1. โลหะ A เป็นตัวรีดิวซ์ที่ยากกว่า B
    2. เมื่อเวลาผ่านไปมวลของ B อาจลดลง
    3. A ทำหน้าที่เป็นขั้วลบ เกิดปฏิกิริยารีดักชัน
    4. B ให้อิเล็กตรอนได้ง่ายกว่า A , B จึงทำหน้าที่เป็นแอโนด
    ตอบ 3
    10จากข้อมูลที่กำหนดให้
    ควรเลือกโลหะชนิดใดต่อกับท่อเหล็กเพื่อลดการสึกกร่อนของท่อเหล็กโดยใช้ต้นทุนน้อยที่สุด
    1. เงิน
    2. สังกะสี
    3. นิกเกิล
    4. โครเมียม
    ตอบ 4

    ตอบลบ
  27. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  28. 11. ปฏิกิริยาใดเกิดเองไม่ได้
    1. Sn + Cu2+ Sn2+ + Cu
    2.Cd + Fe2+ Cd2+ + Fe
    3. Cr + 3Ag+ Cr3+ + 3Ag
    4. Mn + Zn2+ Mn2+ + Zn
    ตอบ 2.
    12. กำหนดให้ Mg(s) / Mg2+(aq) // Zn2+(aq) / Zn(s) ; E0cell = +1.62 V
    Zn(s) / Zn2+(aq) // H+(aq,1mol/dm3),H2 (g,1 atm ) / Pt( s ); E0cell = +0.76 V
    ศักย์ไฟฟ้าครึ่งเซลล์ของ Mg(s) / Mg2+ (aq) มีค่าเท่าใด

    1. 2.38 V
    2.0.86 V
    3. -0.86 V
    4.-2.38 V
    ตอบ 4.
    13. การเตรียม NaOH ได้จากข้อใด

    1.การอิเล็กโทรลิซิสสารละลาย NaCl
    2. การอิเล็กโทรลิซิสสารละลาย Na2SO4
    3. ปฏิกิริยาในเซลล์กัลป์วานิกที่ประกอบด้วยขั้ว Pt จุ่มในสารละลาย NaCl
    4. ปฏิกิริยาในเซลล์กัลป์วานิกที่ประกอบด้วยขั้ว Pt จุ่มในสารละลาย Na2SO4
    ตอบ 1.

    14. จากการอิเล็กโทรลิซิสสารละลาย KNO3และ CuBr2 ให้ทำนายปฏิกิริยาที่จะเกิดขึ้น ถ้าสารละลาย Cu(NO3)2ถูกอิเล็กโทรไลต์

    1. 2H2O O2 + H2
    2. 4K+(aq) + H2O 4K(s) + O2 + 4H+
    3. Cu2+(aq) + 2Br-(aq) Cu(s) + Br2(g)
    4.2Cu2+(aq) + H2O 2Cu(s) + O2 + 4H+
    ตอบ 4.

    15. เซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่วมีอายุการใช้งานระยะหนึ่ง เพราะเหตุใด

    1. เป็นเซลล์ชนิดปฐมภูมิ
    2. สามารถประจุไฟได้เพียง 2 ครั้ง
    3.PbSO4 ที่เกิดขึ้นขณะจ่ายไฟหลุดออกมาทำให้ขั้วตะกั่วสึกกร่อนได
    4. ขณะจ่ายไฟมี PbSO4 เกิดขึ้นทั้งสองขั้ว ทำให้ไม่สามารถจ่ายไฟอีกต่อไป
    ตอบ 3.
    16. การเป็นสนิมจะทำให้เกิดได้เร็วขึ้นเมื่อมีสารใดพันอยู่กับตะปู

    1.ดีบุก
    2. สังกะสี
    3.โครเมียม
    4. แมกนีเซียม
    ตอบ 1.

    17. สิ่งใดไม่ควรปฎิบัติในการชุบโลหะด้วยไฟฟ้า

    1. ใช้กระแสไฟฟ้าตรง
    2. ใช้ของที่ชุบเป็นแอโนดหรือขั้วบวกของเซลล์
    3. ใช้โลหะที่ชุบเป็นแคโทดหรือขั้วลบของเซลล์
    4.ในสารละลายอิเล็กโทรไลต์มีไออนของโลหะที่จะชุบ
    ตอบ 4.

    18. ถ้าต้องการชุบเหรียญทองแดง ควรใช้อะไรเป็นอิเล็กโทรไลต์และอะไรเป็นแอโนด

    1.สารละลายที่มี Ag+ หรือ โลหะ Ag
    2. สารละลายที่มี Cu2+เหรียญทองแดง
    3. สารละลายที่มี Ag+ เหรียญทองแดง
    4. สารละลายที่มี Cu2+เหรียญทองแดง
    ตอบ 1.

    19. ผลที่ได้รับจากเซลล์เชื้อเพลิง H2 – O2

    1. พลังงานไฟฟ้าและความร้อน
    2.พลังงานไฟฟ้าน้ำบริสุทธิ์และอากาศไม่เป็นพิษ
    3. พลังงานไฟฟ้าความร้อนและน้ำบริสุทธิ์
    4. พลังงานไฟฟ้าเพียงอย่างเดียว
    ตอบ 2.

    20. ถ้าต้องการป้องกันการผุกร่อนด้วยวิธีแคโทดิก ข้อใดถูกต้อง

    1. Q ป้องกันการผุกร่อนของ P ได้
    2. R ป้องกันการผุกร่อนของ S ได้
    3.T ป้องกันการผุกร่อนของ P และ Q ได้
    4. R ป้องกันการผุกร่อนของ S และ T ได้
    ตอบ 3.

    ตอบลบ
  29. 11.ทองแดงที่ถลุงได้จากสินแร่ เมื่อทำให้บริสุทธิ์โดยใช้หลักการ ของอิเลก็โทรลิติก ข้อความต่อไปนีข้้อใดผิด
    1. ทองแดงถลุงเป็นแอโนดและทองแดงบริสุทธิ์เป็นแคโทด
    2. สารเจือปนในทองแดงถลุงควรมีความสามารถเป็นตัวรีดวิซ์หรือ ตัวออกซิไดส์แตกต่างจากทองแดงมากพอสมควร
    3. สารเจือปนในทองแดงถลุงที่ถูกออกซิไดส์ได้ยากกว่าทองแดงจะตกตะกอนอยู่ก้นภาชนะเซลล์
    4. ส.ล.ลในเซลล์เป็นอิเลก็โทรไลต์อะไรก็ได้เช่น CuSO4,ZnSO4, H2SO4
    ตอบ 4
    การป้องกันการผุกร่อนของอุโมงค์ หรือท่อเหล็กใต้ดิน กระทำได้โดยการต่อท่อเหล็ก (A) เข้ากับสารชนิดอื่น (B)
    12.ข้อความใดต่อไปนี้ผิด
    1. โลหะ A เป็นตัวรีดิวซ์ที่ยากกว่า B
    2. เมื่อเวลาผ่านไปมวลของ B อาจลดลง
    3. A ทำหน้าที่เป็นขั้วลบ เกิดปฏิกิริยารีดักชัน
    4. B ให้อิเล็กตรอนได้ง่ายกว่า A , B จึงทำหน้าที่เป็นแอโนด
    ตอบ 3
    13. ถ้าต้องการชุบเหล็กด้วยโครเมียมเมื่อผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปในเซลล์ปฏิกิริยาในข้อใด จะพบได้ที่บริเวณขั้วแคโทด
    1.Fe2+(aq) + 2e- --> Fe(s)
    2.Cr(s) --> Cr2+(aq) + 2e-
    3.Cr2+(aq) + 2e- --> Cr(s)
    4 Cr(s) + Cr2+(aq) --> Cr2+(aq) + Cr(s)
    ตอบ 2
    14. เซลล์คู่ที่ให้ความต่างศักย์มากที่สุดและคู่ที่มีความต่างศักย์น้อยที่สุด มีความต่างศักย์กันเท่าใด
    1.0.74 Volt
    2.0.94 Volt
    3.1.21 Volt
    4.1.48 Volt
    ตอบ4
    15.จากข้อมูลต่อไปนนี้
    ก.Znไม่ทำปฏิกิริยากับน้ำึแต่ Na ทำปฏิกิริยารุนแรงกับน้ำ
    ข. จุ่มCuลงในสารละลายAgNO3สารละลายจะเปลี่ยนเป็นสีฟ้าอ่อน
    ค.จุ่มZnลงในสารละลายCuSO4สีฟ้าของสารละลายจางลง
    จงเรียงลำดับความสามารถในการเป็นตัวรีดิวซ์จากมมากไปน้อย
    1. Na,Zn,Cu,Ag
    2.Zn,NaCu,Ag
    3.Cu,Zn,Ag,Na
    4.Ag,Cu,Zn,Na
    #ตอบ 1 เพราะNa>Zn>Cu>Ag
    16.ในการทำสะพานไอออน เพราะเหตุใดจึงเลือกใช้สารละลายอิ่มตัวของ KNO3 แทนการใช้สารละลายไม่อิ่มตัวของ KNO3
    1. ต้องการให้นำไฟฟ้าได้ดี
    2.รักษาสมดุลระหว่างไอออนบวกและไอออนลบได้แน่นอน
    3 มีระยะเวลาการใช้งานได้นาน
    4ให้ไอออนเคลื่อนผ่านสะพานไอออนได้เร็ว
    ตอบ 4
    17.ข้อใดที่มีเลขออกซิเดชันเพิ่มขึ้นสี่หน่วย
    1.NH2OH NO2
    2.ClO4- ClO-
    3 VO3- V2+
    4.Fe2+ FeO42-
    ตอบ 3
    18.การเปลี่ยนแปลงต่อไปนี้ ข้อใดที่ต้องการใช้ตัวรีดิวซ์
    1.Cr42- Cr2O7
    2-BrO3- BrO-
    3.H2O2 O2
    4.Al(OH)3 Al(OH)4-
    ตอบ 2
    19.ในเซลล์อิเล็กโทรลิติกชนิดขั้วต่อกับแท่ง Ag ขั้วลบต่ออยู่กับแท่ง Pt โดยจุ่มอยู่ในสารละลายผสมของ Na+และ Sn2+ที่มีความเข้มข้นอย่างละ 1M กระบวนการใดจะเกิดขึ้นก่อนเมื่อผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปในเซลล์
    1.Na+ เกาะที่แท่ง Pt
    2.น้ำถูกออกซิไดส์ก่อน
    3.Sn2+ ถูกออกซิไดส์ก่อนแท่ง
    4.Ag ถูกออกซิไดส์ก่อน
    ตอบ 4
    20.ข้อความใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
    1.สังกะสีสามารถรีดิวซ์ทองแดงได้ แต่ไม่สามารถรีดิวซ์แมกนีเซียม
    2.ปฏิกิริยา Zn(s) + Sn2+(aq) Zn2+(aq) +Sn(s) เกิดได้เอง
    3.หย่อนเหล็กลงในสารละลาย CuSO4 ปรากฏว่าสารละลายสีฟ้าจางลง
    4.ปฏิกิริยา Mg(s) / Mg2+(aq) // Fe2+(aq) / Fe(s) เกิดได้เอง
    ตอบ1

    ตอบลบ
  30. ของ นายชนะชัย พันธ์ุสถิตวงศ์
    1.ข้อความใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้องสำหรับเซลล์กัลวานิก
    1. ปฏิกิริยาออกซิเดชันเกิดที่แอโนด
    2. เปลี่ยนพลังงานเคมีเป็นพลังงานไฟฟ้า
    3.ไอออนของสารละลายภายในเซลล์เป็นตัวนำกระแสไฟฟ้า
    4.อิเล็กตรอนเคลื่อนที่จากแคโทดผ่านวงจรภายนอกไปยังแอโนด
    ตอบ 4
    2.การเปลี่ยนแปลงในข้อใดต่อไปนี้เป็นปฎิกิริยารีดักชัน (สมการยังไม่ดุล)

    1. MnO2 (s) MnO4- (aq) 2. SO2 (g) SO3 (aq)
    3. OCl- (aq) ClO3- (aq) 4. N3O4 (aq) N2O (g)
    ตอบ4
    3. เมื่อจุ่มชิ้นโลหะ M ลงในสารละลาย CuSO4 พบว่าที่ชิ้นโลหะ M จะมีทองแดงมาเกาะอยู่ และสารละลายสีน้ำเงิน ของ CuSO4 มีสีจางลง ผลการทดลองนี้ สรุปได้ว่า

    1. โลหะ M เป็นตัวออกซิไดส์ 2.Cu2+ เป็นตัวออกซิไดส์
    3. Cu2+ เป็นฝ่ายให้อิเล็กตรอน 4. โลหะ M เป็นฝ่ายรับอิเล็กตรอน
    ตอบ 2
    4.สารใดต่อไปนี้ที่ไม่ใช่ตัวออกซิไดส์

    1. โพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต 2. แอมโมเนีย
    3. คลอรีน 4. กรดซัลฟิวริก

    ตอบ 2
    5.คำถาม : กำหนดค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์รีดักชันต่อไปนี้
    ปฏิกิริยาครึ่งเซลล์ E0 (V)
    Cl2(g) + 2e- → 2Cl-(aq) + 1.36
    O2(g) + 4H+(aq)+4e- → 2H2O(ℓ) + 1.23
    Ag+(aq) + e- → Ag(s) + 0.80
    I2(s) + 2e- → 2I-(aq) + 0.54
    ปฏิกิริยาใดบ้างที่สามารถเกิดได้
    ก. Cl2(g) + 2I+ → 2Cl-(aq) + I2
    ข. 2Ag(s) + I2(s) → 2AgI(aq)
    ค. 2Ag(s) + Cl2(g) → 2AgCl(aq)
    ง. O2(g) + 4HCl(aq) → 2Cl2(g) + 2H2O
    ตัวเลือกที่ 1 : ก และ ค เท่านั้น
    ตัวเลือกที่ 2 : ข และ ค เท่านั้น
    ตัวเลือกที่ 3 : ก ข และ ค
    ตัวเลือกที่ 4 : ข ค และ ง
    ตอบ1
    6..ข้อความใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
    1.สังกะสีสามารถรีดิวซ์ทองแดงได้ แต่ไม่สามารถรีดิวซ์แมกนีเซียม
    2.ปฏิกิริยา Zn(s) + Sn2+(aq) Zn2+(aq) +Sn(s) เกิดได้เอง
    3.หย่อนเหล็กลงในสารละลาย CuSO4 ปรากฏว่าสารละลายสีฟ้าจางลง
    4.ปฏิกิริยา Mg(s) / Mg2+(aq) // Fe2+(aq) / Fe(s) เกิดได้เอง
    ตอบ1
    7..ในการทำสะพานไอออน เพราะเหตุใดจึงเลือกใช้สารละลายอิ่มตัวของ KNO3 แทนการใช้สารละลายไม่อิ่มตัวของ KNO3
    1. ต้องการให้นำไฟฟ้าได้ดี
    2.รักษาสมดุลระหว่างไอออนบวกและไอออนลบได้แน่นอน
    3 มีระยะเวลาการใช้งานได้นาน
    4ให้ไอออนเคลื่อนผ่านสะพานไอออนได้เร็ว
    ตอบ 4
    8. ข้อใดเป็นตัวรีดิวซ์ที่แรงที่สุด
    1.Sc
    2.Zn
    3.Zr
    4.Eu
    ตอบ 2
    9.ถ้าต้องการป้องกันการผุกร่อนด้วยวิธีแคโทดิก ข้อใดถูกต้อง

    1. Q ป้องกันการผุกร่อนของ P ได้
    2. R ป้องกันการผุกร่อนของ S ได้
    3.T ป้องกันการผุกร่อนของ P และ Q ได้
    4. R ป้องกันการผุกร่อนของ S และ T ได้
    ตอบ 3.
    10.จากการอิเล็กโทรลิซิสสารละลาย KNO3และ CuBr2 ให้ทำนายปฏิกิริยาที่จะเกิดขึ้น ถ้าสารละลาย Cu(NO3)2ถูกอิเล็กโทรไลต์

    1. 2H2O O2 + H2
    2. 4K+(aq) + H2O 4K(s) + O2 + 4H+
    3. Cu2+(aq) + 2Br-(aq) Cu(s) + Br2(g)
    4.2Cu2+(aq) + H2O 2Cu(s) + O2 + 4H+
    ตอบ 4.

    ตอบลบ
  31. ของ นายชนะชัย พันธ์ุสถิตวงศ์
    11. จากแผนภาพเซลลต์ ่อไปน้ีขอ้ใดถูกตอ้ง
    Sn(s)/Sn2+(aq) // Cu2+
    (aq) / Cu(s)
    ก. ปฏิกิริยาของเซลล์ Sn(s) + Cu(s) Sn2+ (aq) + Cu2+(aq)
    ข. ปฏิกิริยาที่ข้วัแคโทด Sn(s) Sn2+ (aq) + 2e-
    ค. ปฏิกิริยาที่ข้วัแอโนด Sn(s) Sn2+ (aq) + 2e-
    ง. ปฏิกิริยาที่ข้วัแอโนด Cu2+(aq) + 2e-Cu(s)
    ตอบค
    12. จากแผนภาพเซลลต์ ่อไปน้ีขอ้ใดถูกตอ้ง
    Mg(s) / Mg2+(aq) // Fe3+(aq) , Fe2+(aq) / Pt(s)
    ก. ปฏิกิริยาของเซลล์ Mg(s) + 2Fe3+(aq) Mg2+(aq) + 2Fe2+(aq)
    ข. ปฏิกิริยาที่ข้วัแคโทด Mg(s) Mg2+(aq) + 2e-
    ค. ปฏิกิริยาที่ข้วัแอโนด 2Fe3+(aq) + 2e-2Fe2+(aq)
    ง. ปฏิกิริยาที่ข้วัแอโนด 2Fe2+(aq) 2Fe3+(aq) + 2e-
    ตอบ ก
    13. จากแผนภาพเซลลต์ ่อไปน้ีขอ้ใดถูกตอ้ง
    Zn(s)/Zn2+(aq, 1 mol/dm3
    ) // H+
    (aq, 1 mol/dm3
    )/H2
    (g, 1 atm)/Pt(S)
    ก. ปฏิกิริยาของเซลล์ Zn(s) + H2(g) Zn2+(aq) + H+(aq)
    ข. ปฏิกิริยาที่ข้วัแคโทด Zn2+(aq) + 2e-Zn(s)
    ค. ปฏิกิริยาที่ข้วัแอโนด Zn(s) Zn2+(aq) + 2e-
    ง. ปฏิกิริยาที่ข้วัแอโนด H2(g) 2H+(aq) + 2e-
    ตอบ ค
    14. ขอ้ใดต่อไปน้ีกล่าวถูกตอ้งที่สุด
    ก. ข้วัไฟฟ้า B จะผกุ ร่อน
    ข. ข้วัไฟฟ้า A จะหนาข้ึน
    ค. อิเล็กตรอนจะไหลจากข้วั B ไปยังข้วั A
    ง. ถูกทุกข้อ
    ตอบ ก
    15. ขอ้ใดที่แสดงปฏิกิริยาของเซลลด์ งัภาพขา้งตน้ ไดถู้กตอ้ง
    ก. A + B2+ A2+ + B
    ข. B + A2+ B2++ A
    ค. A2++ 2e  A
    ง. อาจเป็นไดท้ ้งักและข
    ตอบ ง
    16. ถา้จุ่มโลหะ B ลงในสารละลายของ D2+
    ผลการทดลองไม่เป็ นไปตามข้อใด
    ก. มีไอออนใหม่เกิดข้ึนในสารละลายคือ B2+
    ข. D2+รับอิเล็กตรอนเกิดปฏิกิริยารีดกั ชนั
    ค. โลหะ B กร่อนไปทีละนอ้ย
    ง. โลหะ B รับอิเล็กตรอนจาก D
    ตอบข
    17. ข้อใด ไม่ใช่ หน้าที่ของสะพานไอออน
    ก. เป็นทางเดินของไอออนบวกจากแอโนด และไอออนลบจากแคโทดรวมท้งัไอออนบวก
    และไอออนลบที่อยบู่ นสะพานไอออนดว้ย
    ข. เป็ นทางเดินของอิเล็กตรอนต่อจากลวดตวันา เพื่อให้กระแสไหลได้ครบวงจร
    ค. ปรับสมดุลระหวา่ งไอออนบวกและไอออนลบในคร่ึงเซลลท์ ้งัสอง
    ง. เป็นสะพานเชื่อมระหวา่ ง 2 ครึ่ งเซลล์เพื่อให้ครบวงจร
    ตอบ ข
    18. จากแผนภาพเซลลก์ลัวานิกต่อไปน้ี
    Pt(s) / Br2
    (l) / Br-
    (aq) // Ce4+(aq) , Ce3+(aq) / C(s)
    ขอ้ใดกล่าวถูกตอ้ง
    ก. ปฏิกิริยาของเซลลค์ือ 2Br-+ 2Ce4+Br2 + 2Ce3+
    ข. ข้วัแอโนดคือ C ส่วนข้วัแคโทดคือ Pt
    ค. กระแสไฟฟ้าไหลจากข้วั Pt ไปยงัข้วั C
    ง. ตัวรีดิวซ์คือ Br2
    ตอบ ก
    ตัวออกซิไดส์คือ Ce4+
    9. จากปฏิกิริยารีดอกซ์ที่เกิดข้ึนภายในเซลลก์ลัวานิกต่อไปน้ี
    Sn(s) + Cu2+(aq) Sn2+(aq) + Cu(s)
    การเขียนแผนภาพแสดงเซลลก์ลัวานิกขอ้ใดถูกตอ้ง
    ก. Sn(s) / Sn2+(aq) // Cu2+(aq) / Cu(s)
    ข. Sn2+(aq) / Sn(s) // Cu(s) / Cu2+(aq)
    ค. Cu2+(aq) / Cu(s) // Sn2+(aq) / Sn(s)
    ง. Cu(s) / Cu2+(aq) // Sn2+(aq) / Sn(s)
    ตอบ ก
    10. เซลล์ไฟฟ้ า Pt(s) / H2
    (g) / H+
    (aq) // Br-
    (aq)/Br2
    (l) / Pt(s)
    ปฏิกิริยาที่ข้วัแอโนดคือ
    ก. 2H++ 2e-H2
    ข. 2Br-Br2+ 2e-
    ค. Pt Pt2++ 2e-
    ง. H22H++ 2e-
    ตอบ ง

    ตอบลบ

แสดงความคิดเห็น