8. แก๊สโพรเพน (C3H8) จำนวน 22 กรัม ที่ STP จะมีปริมาตรกี่ลิตร ตอบ 11.2 วิธีทำ มวลโมเลกุล (M) = 3(12) + 8(1) = 36 + 8 = 44 มวลสารที่มี (g) = 22 กรัม ปริมาตรแก๊ส (Vแก๊ส) = ? จาก m g = V2แ2ก.4๊ส Vแก๊ส = m g x 22.4 = 4242 x 22.4 = 11.2
9. แก๊สชนิดหนึ่งปริมาตร 67.2 ลิตร ที่ STP จะมีกี่โมเลกุล ตอบ (1.806x1024) วิธีทำ (Vแก๊ส) = 67.2 dm3 , N = ? จาก 6.02 x 1023 N = 22.4 V N = 22.4 67.2 x 6.02 x 1023 N = 1.806 x 1024 โมเลกุล
10.แก๊สชนิดหนึ่งหนัก 0.2 กรัม มีปริมาตร 400 cm3 ที่ STP แก๊สชนิดนี้มีมวลโมเลกุลเท่าไร 1. 11.2 2. 16 3. 18 4. 20.5 ตอบ ข้อ 1ธีทำ โจทย์กำหนด g = 0.2 กรัม , Vแก๊ส = 1000 400 cm3 = 0.4 dm3 M = ? จาก m g = 22.4 V จะได้ M = V g x 22.4 M = 0.4 0.2 x 22.4 = 11.2
11.ถ้านักเรียนตักน้ำบริสุทธ์ิมา 2 cm3 น้ำนั้นจะมีจำนวนโมเลกุลเท่าใด กำหนดให้ : ความหนาแน่นของน้ำเท่ากับ 1.0 g/cm3 1. 0.11 2. 36 3. 6.69x1022 4. 1.20x1024 ตอบ ข้อ 3. วิธีทำ มวลโมเลกุลของน้ำ ( H2O) = 18 และ น้ำ 2 cm3 จะมีมวล = 2 กรัม จาก 6.02 1023 N m g × = 6.02 1023 128 N × = N = 6.69 x 1023 โมเลกุล
12. สาร A มีมวลโมเลกุล 64 ประกอบด้วย S และ O อย่างละเท่าๆ กัน โดยมวล ถ้า สาร A 16 กรัม มีจำนวนอนุภาคเท่ากับสาร B 19 กรัม สาร B ควรเป็นสารอะไร 1. NO2 2. CS2 3. CO2 4. SO2 ตอบ ข้อ 2.วิธีทำ ตอน 1 คิดสาร A จาก m g 6.02 1023 N = × 6.02 1023 1664 N = × N = 0.25 x 6.02 x 1023 นั่นคือ จำนวนอนุภาคของ A = 4 x 6.02 x 1023 เนื่องจากจำนวนอนุภาคของ B เท่ากับ A นั่นคือ จำนวนอนุภาค B = 4 x 6.02 x 1023
คิดสาร Bจาก m g 6.02 1023 N =×6.02 1023 1m90.25 x 6.02 x1023 =×mB = 76 ดังนั้น สาร B ควรเป็น CS2 เพราะ CS2 มีมวลโมเลกุล = 12 + 2(32) = 76 เช่นเดียวกับ B
13.กรดแอซีติก 24 กรัม จะมีจำนวนออกซิเจนอะตอมอยู่ทั้งหมดเท่ากับ 1. 6.02 x 1023 อะตอม 2. 4.82 x 1023 อะตอม 3. 2.41 x 1023 อะตอม 4. 1.20 x 1023 อะตอม ตอบข้อ 2. วิธีทำ กรดแอซีติก (CH3COOH ) มีมวลโมเลกุล = 12+3(1)+12+16+16+1 = 60 จาก 6.02 1023 N × = m g N = m g (6.02 x 1023) N = 2604 (6.02 x 1023) N = 2.41 x 1023 โมเลกุล2 เนื่องจาก CH3COOH 1 โมเลกุล ประกอบด้วย O 2 อะตอม ดังนั้น CH3COOH 2.41 x 1023 โมเลกุล ประกอบด้วย O 4.82 x 1023 อะตอม
14.จะต้องเติมน้ำตาลทรายกี่กรัม ลงในสารละลายน้ำตาลเข้มข้น 5% โดยมวล จำนวน 200 กรัม เพื่อให้ได้สารละลายเข้มข้น 20% โดยมวล (37.50 กรัม) ตอบ 37.5 กรัม วิธีทำ ตอน1 สารละลายเข้มข้น 5% โดยมวล ร้อยละโดยมวลต่อมวล = มวลสารละลาย มวลตัวถูกละลาย x 100 5 = มวล2น0้ำ0ตาล x 100 มวลน้ำตาล = 10 กรัม ทีนี้ ต้องการเปลี่ยนความเข้มข้นเป็น 20% โดยมวล สมมุติเติมน้ำตาลเข้าไปอีก X กรัม สุดท้ายจึงมีสารละลาย 200 + X กรัม และมีน้ำตาล 10 + X กรัม ร้อยละโดยมวลต่อมวล = มวลสารละลาย มวลตัวถูกละลาย x 100 20 = 21000 + XX + x 100 X = 37.5 กรัม
เพิ่มเติมข้อ 20 ที่ยังไม่ได้ส่งค้ะ ข้อ 13 น้าทองเหลืองซึ่งเป็นสารประกอบระหว่าง Cu กับ Zn 15 กรัม มาท้าปฏิกิริยากับ HNO3 3.0 mol/dm3 ถ้าต้องใช้ HNO3 303 cm3 จงหาร้อยละโดยมวลของ Cu และ Zn ในทองเหลือง (Cu = 63.5, Zn = 65) Soln สมการเคมีของปฏิกิริยาดังกล่าวเป็นดังนี 3 2 3 2 2 Cu s 4HNO aq 2NO g Cu NO aq 2H O l 3 4 3 3 2 2 4Zn s 10HNO aq NH NO aq 4Zn NO aq 3H O l ก้าหนดให้ ในทองเหลือง 15 กรัม ประกอบด้วย Cu a กรัม และ Zn 15-a กรัม จาก 3 2 3 2 2 Cu s 4HNO aq 2NO g Cu NO aq 2H O l จะได้ 3HNOmolag 63.5 g 4 ดังนั น 3HNO 4a mol 63.5 จาก 3 4 3 3 2 2 4Zn s 10HNO aq NH NO aq 4Zn NO aq 3H O l จะได้ 3HNOmol15 a g 2x65 g 5 ดังนั น 3HNO 15 a mol 26
20)แก๊สชนิดหนึ่งปริมาตร 67.2 ลิตร ที่STP จะมีกี่โมเลกุล ตอบ 1.806 x 1024 วิธีทำ (Vแก๊ส) = 67.2 dm3, N = ? จาก 2310x6.02 N = 22.4V N = 22.467.2x 6.02 x 1023 N = 1.806 x 1024โมเลกุล
16.แก๊สโพรเพน(C3H8)จำนวน22g. STPจะมีปริมาตรกี่ลิตร โมลโมเลกุลM=3(12)+8(1)=36+8=44 มวลสารที่มี(g.)=22g. ปริมาตรแก๊ส(vแก๊ส) จากg vแก๊ส ---- = --------- m 22.4 vแก๊ส= g ----- x 22.4 m =22 ----- x 22.4 =11.2 44
17.แก๊สชนิดหนึ่งปริมาตร67.2 ลิตร ที่STPจะมีกี่โมเลกุล (vแก๊ส)=67.2dm3 n จาก n v ------------------- = ------ 6.02x10ยกกำลัง23 22.4
n=67.2 ------- x 6.02x10ยกกำลัง23 22.4 n=1.806x10ยกกำลัง24 โมเลกุล
18.แก๊วชนิดหนึ่งหนัก0.02g. มีปริมาตร400cm3 ที่STP แก๊สชนิดนี้มีมวลโมเลกุลเท่าไหร่ โจทย์กำหนดให้ g.=0.2g. vแก๊ส =400cm3 =0.4dm3 ---------- 1000 จากg. v ------- = --- m 22.4 จะได้m = gx22.4 ----------- v m=0.2x22.4 =11.2m ------------ 0.4
19.ก๊าซชนิดหนึ่งมีปริมาณ448 cm3 ที่STP มีมวล0.60 g. โจทย์บอก v แก๊ส=448cm3 =0.448ลิตร ;g 0.60g จากg v ------ =----- m 22.4 0.6 = 0.448 = 30 ------ ---------- m 448x10ยกกำลัง-3
20.ถ้านักเรียนตักน้ำบริสุทธุ์มา2cm3น้ำนั้นจะมีจำนวนโมเลกุลเท่าใด มวลโมเลกุลของน้ำ (H2O)=18 และน้ำ2cm3จะมีมวล=2g.จาก g N ------- = ----- m 6.02x10ยกกำลัง23 2 N -------- = ---------- 18 6.02x10ยกกำลัง23 ดังนั้นN=6.69x10ยกกำลัง23โมเลกุล
16)สารA ละลายในกรดแอซิติกเป็นสารละลายมีความเข้มข้น 1 โมล/กิโลกรัม มีจุดเดือด 120.97 °C ถ้า Kb ของกรดแอซิติกเท่ากับ 3.07 กรดแอซิติกบริสุทธิ์มีจุดเดือดเท่าใด 1)107.96 °C 2)125.20 °C 3)117.90 °C 4)มากว่า 120.97 °C ตอบ เพราะว่าค่า Kb คือผลต่างระหว่างจุดเดือดของสารละลายที่มีความเข้มข้น 1 โมล/กิโลกรัมกับจุดเดือดของตัวทำละลายบริสุทธิ์สมมติให้กรดแอซิติกบริสุทธิ์มีจุดเดือด
17)จงคำนวนหาจุดเดือดของสารละลายของ antifreeze (C2H4(OH)2)ในน้ำเข้มข้น 0.200 โมล/กิโลกรัม ถ้า Kb ของน้ำเท่ากับ 0.51 °C/m 1)101.02 °C 2)1.02 °C 3)100.102 °C 4)ไม่มีคำตอบที่ถูกต้อง วิธีคิด สารละลาย C2H4(OH)2 เข้มข้น 1 โมล/กิโลกรัมมีจุดเดือดสูงขึ้น = 0.51 °C ถ้าสารละลาย C2H4(OH)2 เข้มข้น 0.20โมล/กิโลกรัมมีจุดเดือดสูงขึ้น= 0.51×0.2 °C =0.102 °C จุดเดือดของน้ำบริสุทธิ์ = 100 °C จุดเดือดของสารละลาย = 100+0.102 °C = 100.102 °C
วิธีคิด เบนซีนมีปริมาตรน้อยกว่าเเสดงว่า เบนซีนเปนตัวถูกละลาย ส่วนโทลูอีนเป็นตัวละลายเบนซีน 150=cmยกกำลัง3 =150x0.8 =120 g C = g x1000/MxV =120x1000/78x(150+300) =3.42 mol/dmยกกำลัง3
17. กำหนดไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์( H 2 O 2 )1 โมล จงหาองค์ประกอบของ H 2 O 2 กำหนดให้ มวลโมเลกุลของ H 2O 2 = 34.00 เนื่องจาก H 2 O 2 1 โมล ประกอบด้วย H 2 2โมลโมเลกุล และ O 2 โมลโมเลกุล ร้อยละองค์ประกอบของ H = มวลอะตอมของ H x 100 =2 x 1.00 x 100 =5.88 % ร้อยละองค์ประกอบของ O =มวลอะตอมของO×100 =2 x 16.00 x 100 = 94.11 %#
18.กรดฟอสฟอริก ( H3 PO 4 )เป็นกรดที่ใช้ในการซักล้าง จงคำนวณองค์ประกอบร้อยละโดยมวลของ H , P และ O ของสารนี้ มวลโมเลกุลของ H 3 PO4 = [ 3 x มวลอะตอมของ H ] + [ 1 x มวลอะตอมของ P ] + [ 4 x มวลอะตอมของ O ] =[ 3 x 1.00 ] + [ 1 x 30.97 ]+[ 4 x 16.00 ] = 97.97 ร้อยละโดยมวลของ H = มวลอะตอมของ H x 1 00 = 3 x 1.00 x 100 = 3.08 % ร้อยละโดยมวลของ P = มวลอะตอมของ P x 100 = 1 x 30.97 x 100 = 31.61 % ร้อยละโดยมวลของ O = มวลอะตอมของ O x 100 = 4 x 16.00 x 100 = 65.31 %
19. การวิเคราะห์สารประกอบอินทรีย์ชนิดหนึ่ง เพื่อหาปริมาณธาตุองค์ประกอบพบว่า มีคาร์บอน 18.23 % ไฮโดรเจน2.11 % และ คลอรีน 80.76 %โดยน้ำหนัก ถ้ามวลโมเลกุลของสารนี้เป็น 135จงหาสูตรโมเลกุล สมมติว่า มีสารทั้งหมด100 กรัม เนื่องจาก มวลอะตอมของ C = 12.00 , มวลอะตอมของ H = 1.00 , มวลอะตอมของ Cl = 35.50 อัตราส่วน C : H : Cl 18.23 : 2.11 : 80.76 1.52 : 2.11 : 2.27 นำเลขตัวน้อยหารตลอด จะได้ 1.00 : 1.40 : 1.50 คูณด้วย 2 2 .00 : 3.00 : 3.00 สูตรเอมพิริคัลของแก๊สนี้ คือ C 2 H 3 Cl 3 จะได้ มวลสูตรเอมพิริคัลของ C 2 H 3 Cl 3 = 133.50 จาก มวลโมเลกุล =( มวลของสูตรเอมพิริคัล ) x n 135.00 = ( 133.50 ) x n n = 1 สูตรโมเลกุลของแก๊สนี้ คือ C 2H 3 Cl3
20. ถ้านำ C 6 กรัม รวมกับ H 1 กรัม และ S 8 กรัม จะได้สารประกอบชนิดหนึ่งที่มีมวลโมเลกุล 180 กรัม สูตรโมเลกุลของสารประกอบนี้ คือข้อใด อัตราส่วนโดยมวล C : H : S = 6 : 1 : 8 อัตราส่วนโดยอะตอม C : H :S = 6 : 1 : 8 = 0.5 : 1 : 0.25 อัตราส่วนโดยอะตอม C : H : S = 2 : 4 : 1 ดังนั้น สูตรอย่างง่าย = C2H4S ต่อไป (มวลจากสูตรอย่างง่าย)n = มวลโมเลกุล (C2H4S)n = 180 60n = 180 n = 3 แสดงว่าสูตรโมเลกุล = (C2H4S)n = (C2H4S)3 = C6H12S3#
17. กำหนดไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์( H 2 O 2 )1 โมล จงหาองค์ประกอบของ H 2 O 2 กำหนดให้ มวลโมเลกุลของ H 2O 2 = 34.00 เนื่องจาก H 2 O 2 1 โมล ประกอบด้วย H 2 2โมลโมเลกุล และ O 2 โมลโมเลกุล ร้อยละองค์ประกอบของ H = มวลอะตอมของ H x 100 =2 x 1.00 x 100 =5.88 % ร้อยละองค์ประกอบของ O =มวลอะตอมของO×100 =2 x 16.00 x 100 = 94.11 %#
18.กรดฟอสฟอริก ( H3 PO 4 )เป็นกรดที่ใช้ในการซักล้าง จงคำนวณองค์ประกอบร้อยละโดยมวลของ H , P และ O ของสารนี้ มวลโมเลกุลของ H 3 PO4 = [ 3 x มวลอะตอมของ H ] + [ 1 x มวลอะตอมของ P ] + [ 4 x มวลอะตอมของ O ] =[ 3 x 1.00 ] + [ 1 x 30.97 ]+[ 4 x 16.00 ] = 97.97 ร้อยละโดยมวลของ H = มวลอะตอมของ H x 1 00 = 3 x 1.00 x 100 = 3.08 % ร้อยละโดยมวลของ P = มวลอะตอมของ P x 100 = 1 x 30.97 x 100 = 31.61 % ร้อยละโดยมวลของ O = มวลอะตอมของ O x 100 = 4 x 16.00 x 100 = 65.31 %
19. การวิเคราะห์สารประกอบอินทรีย์ชนิดหนึ่ง เพื่อหาปริมาณธาตุองค์ประกอบพบว่า มีคาร์บอน 18.23 % ไฮโดรเจน2.11 % และ คลอรีน 80.76 %โดยน้ำหนัก ถ้ามวลโมเลกุลของสารนี้เป็น 135จงหาสูตรโมเลกุล สมมติว่า มีสารทั้งหมด100 กรัม เนื่องจาก มวลอะตอมของ C = 12.00 , มวลอะตอมของ H = 1.00 , มวลอะตอมของ Cl = 35.50 อัตราส่วน C : H : Cl 18.23 : 2.11 : 80.76 1.52 : 2.11 : 2.27 นำเลขตัวน้อยหารตลอด จะได้ 1.00 : 1.40 : 1.50 คูณด้วย 2 2 .00 : 3.00 : 3.00 สูตรเอมพิริคัลของแก๊สนี้ คือ C 2 H 3 Cl 3 จะได้ มวลสูตรเอมพิริคัลของ C 2 H 3 Cl 3 = 133.50 จาก มวลโมเลกุล =( มวลของสูตรเอมพิริคัล ) x n 135.00 = ( 133.50 ) x n n = 1 สูตรโมเลกุลของแก๊สนี้ คือ C 2H 3 Cl3
20. ถ้านำ C 6 กรัม รวมกับ H 1 กรัม และ S 8 กรัม จะได้สารประกอบชนิดหนึ่งที่มีมวลโมเลกุล 180 กรัม สูตรโมเลกุลของสารประกอบนี้ คือข้อใด อัตราส่วนโดยมวล C : H : S = 6 : 1 : 8 อัตราส่วนโดยอะตอม C : H :S = 6 : 1 : 8 = 0.5 : 1 : 0.25 อัตราส่วนโดยอะตอม C : H : S = 2 : 4 : 1 ดังนั้น สูตรอย่างง่าย = C2H4S ต่อไป (มวลจากสูตรอย่างง่าย)n = มวลโมเลกุล (C2H4S)n = 180 60n = 180 n = 3 แสดงว่าสูตรโมเลกุล = (C2H4S)n = (C2H4S)3 = C6H12S3#
เคมีชิลๆๆ
ตอบลบคนสวย
ตอบลบ1.การบ้าบัดน ้าเสียที่มี Ca(HCO3)2 1620 ppm และ Mg(HCO3)2 1640 ppm
ตอบลบปริมาตร 100 ลิตร ควรใช้ปูนขาวกี่กรัม
(Ca = 40, H = 1, C = 12, O = 16, Mg = 24)
ส้าหรับ Carbonate hardness ใช้ปูนขาว (Lime, Ca(OH)2) ดังสมการ 1-2
Ca (HCO) Ca (OH) 2CaCO 2H OMgC
Mg (HCO )Ca (OH) MgCO CaCO 2H2 O
MgCO3ไม่ตกตะกอนจะเกิดปฏิกิริยากับปูนขาวต่อไป ดังสมการ 3
MgCO3 Ca (OH)2CaCO3 Mg (OH)2
1. ใช้ปูนขาว 74 กรัม
2. ใช้ปูนขาว 148 กรัม
3.ใช้ปูนขาว 222 กรัม
4. ใช้ปูนขาว 296 กรัม 6 3
ตอบ3.sol. Ca (HCO3)2 16 1460 ppm x100x10 146 g
6 3
Mg(HCO3)2 1460/10 ppm x100x10 146 g
-หาปริมาณ Ca(OH)2 ที่ใช้ในการก้าจัด Ca(HCO3)2
จากCa(HCO3)2+Ca (OH) 2CaCO3+ 2H2 O
จะได้162/162g=Ca(OH)2/74g ดังนั น Ca(OH)2 = 74 [g]
-หาปริมาณCa(OH)2ี่ที่ใช้ในการก้าจัด Mg(HCO3)2 และ MgCO3
จากMg (HCO3)2+Ca (OH2) MgCO +CaCO +2H2 O
และMgCO3 Ca+ (OH)2 CaCO3 Mg (OH)2
จะได้ Mg (HCO3)2+Ca (OH)2 Mg(OH)2 CaCO3 2H2 O
146/146g=มวลCa(OH)2g/2x74g ดังนั น Ca(OH)2 = 148 [g]
ดังนั น จะต้องใช้ปูนขาว 74 + 148 = 222 [g]
2. สารละลาย NaOH เข้มข้น 2 โมล/ลิตร ปริมาตร 200 มิลลิลิตร เมื่อน้ามาเติมน ้า
กลั่นจนมีปริมาตรเป็น 500 มิลลิลิตร จะท้าให้สารละลายใหม่ที่ได้รับมีความเข้มข้นเท่าใด
(Na = 23, H = 1, O = 16)
1. 0.2 โมล/ลิตร
2. 0.4 โมล/ลิตร
3. 0.8 โมล/ลิตร
4. 1.0 โมล/ลิตร
ตอบ 3. จากC1V1=C2V2
จะได้ 2 [M]x200[mL]=C x500 [mL ]
ดังนั น C2=0.8[M ]
3. น้าหินอ่อนก้อนหนึ่งมวล 30 กรัม มาท้าปฏิกิริยากับสารละลาย HCl 5 M (โมลาร์)
ปริมาตร 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร จน CaCO3
ในหินอ่อนหมดพอดี จงหาว่าหินอ่อนก้อนนี มี CaCO3
อยู่ร้อยละเท่าใดโดยมวล (ก้าหนดให้ใช้ มวลโมเลกุลของ Ca = 40, C = 12, O = 16)
1. 5
2. 25
3. 33.33
4. 50
5.83.33
ตอบ CaCO +2HCl CaCl2 H2 CO3
จะได้ มวล CaCO3/100 =5x100/2x1000
ดังนั น จะได้มวลของหินปูนในหินอ่อน = 25g
จาก%โดยมวลของสาร A = % โดยมวลของสาร A ในสารประกอบนั น ๆ/
มวลของสารประกอบทั งหมด
ดังนั น ในหินอ่อนก้อนนีจะมีCaCO3=25/30gx100=83.33%
4.นำเกลือ 2 ZSO nH O
หนัก 5 กรัม (ZSO4 = 165.25 g/mol) มาละลายน ้าจนหมด จากนั นเติม
BaCl2 ลงไปมากเกินพอ จะเกิดตะกอน BaSO4 หนัก 4 กรัม ค่า n มีค่าเท่าใด
(Ba = 137, S = 32, O = 16, H = 1, Cl = 35.5)
จากโจทย์ สามารถเขียนสมการได้ดังนี
ZSO4 BaCl2 BaSO4 ZCl2
จะได้5g/1x165.25+18ng= 4/1x233g
ดังนั น จะได้n 7
น.ส.พรฟ้า ภาสกร
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
ตอบลบ5.น้าสารโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) จ้านวน 12 กรัม มาละลายจนหมดในน ้ากลั่น
ตอบลบปริมาตร 500 ลูกบาศก์เซนติเมตร สารละลายที่ได้นี จะมีไฮดรอกไซด์อิออน (OH)
เข้มข้นกี่โมลต่อลิตร
(ก้าหนดมวลอะตอมของ Na = 23, O = 16, H = 1)
จาก
NaOH Na+ O้H-
จะได้ว่า ความเข้มข้นของ OHมีค่าเท่ากับความเข้มข้นของ NaOH
เนื่องจาก ความเข้มข้นของ(12/40)mol/500cm3x1000cm/1L=0.6mol/l
ดังนั น สารละลายที่ได้นี จะมีไฮดรอกไซด์อิออน (OH)เข้มข้น 0.6 โมลต่อลิตร #
6ธาตุมวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุออกซิเจนในธรรมชาติเท่ากับ 16.032 แสดงว่าไอโซโทปใดของ
ตอบลบออกซิเจนที่มีมากที่สุดในธรรมชาติ
1. 16O 2. 17O 3. 18O 4. เท่ากัน
ตอบ 1เหตุผล เพราะมวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุจะมีค่าใกล้เคียงกับมวลที่มีเปอร์เซ็นต์ในธรรมชาติ
ธาตุ D ประกอบด้วยไอโซโทป 2 ชนิด ที่มีมวลอะตอม 10.00 และ 11.00 ตามลำดับ หาก
มวลอะตอมของธาตุ D เท่ากับ 10.20 ปริมาณในธรรมชาติของ D ที่มีมวลอะตอม 11.00
จะเท่ากับเท่าใด
ตอบ 20
นำข้อมูลที่ได้มาเขียนตาราง ให้สมมติ % ในธรรมชาติ
D % ในธรรมชาติ มวล M – M น้อยสุด
ไอโซโทป 1
ไอโซโทป 2
100 – A
A
10
11
10 – 10 = 0
11 – 10 = 1
Mเฉลี่ย = 100
Σ% ( มวล - มวลน้อยที่สุด) + มวลน้อยที่สุด
= 100
A + 10
A = (10.20 – 10) x 100 = 20
7.ข้อความใดที่ ไม่ใช่ เป็นสมบัติของก๊าซใดๆ ปริมาตร 22.4 dm3 ที่อุณหภูมิความดัน
มาตรฐาน
1. จำนวนโมล = 6.02x1023 โมล
2. มวล = มวลโมเลกุลคิดเป็นกรัม
3. จำนวนโมเลกุล = 6.02x1023 โมเลกุล
4. จำนวนโมเลกุลของก๊าซนี้เท่ากับจำนวนโมเลกุลของไฮโดรเจน
ตอบ1. เหตุผล เพราะก๊าซ 22.4 ลิตร ที่ STP มีเพียง 1 โมลเท่านั้น ไม่ใช่ 6.02 x 1023 โมล
8. แก๊สโพรเพน (C3H8) จำนวน 22 กรัม ที่ STP จะมีปริมาตรกี่ลิตร
ตอบ 11.2
วิธีทำ มวลโมเลกุล (M) = 3(12) + 8(1) = 36 + 8 = 44
มวลสารที่มี (g) = 22 กรัม ปริมาตรแก๊ส (Vแก๊ส) = ?
จาก m
g = V2แ2ก.4๊ส
Vแก๊ส = m
g x 22.4
= 4242 x 22.4 = 11.2
9. แก๊สชนิดหนึ่งปริมาตร 67.2 ลิตร ที่ STP จะมีกี่โมเลกุล
ตอบ (1.806x1024)
วิธีทำ (Vแก๊ส) = 67.2 dm3 , N = ?
จาก 6.02 x 1023
N = 22.4
V
N = 22.4
67.2 x 6.02 x 1023
N = 1.806 x 1024 โมเลกุล
10.แก๊สชนิดหนึ่งหนัก 0.2 กรัม มีปริมาตร 400 cm3 ที่ STP แก๊สชนิดนี้มีมวลโมเลกุลเท่าไร
1. 11.2 2. 16 3. 18 4. 20.5
ตอบ ข้อ 1ธีทำ โจทย์กำหนด g = 0.2 กรัม , Vแก๊ส = 1000
400 cm3 = 0.4 dm3 M = ?
จาก m
g = 22.4
V จะได้ M = V
g x 22.4
M = 0.4
0.2 x 22.4 = 11.2
10.ก๊าซชนิดหนึ่งมีปริมาณ 448 cm3 ที่ STP มีมวล 0.60 กรัม ก๊าซนี้น่าจะได้แก่
1. NH3 2. CH4 3. C2 H6 4. CO2
ตอบข้อ 3.วิธีทำ โจทย์บอก Vแก๊ส = 448 Cm3 = 0.448 ลิตร , g = 0.60 กรัม
จาก m g = 22v.4
0m.6 = 0.44282 .ล4ิตร
m = 448 10 3
0.6(22.4 103)
× −
× = 30
แสดงว่าสารนี้มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 30 ซึ่งน่าจะเป็น C2H6
เพราะ C2H6 มีมวลโมเลกุล = 2(12) + 6(1) = 30 เช่นกัน
11.ถ้านักเรียนตักน้ำบริสุทธ์ิมา 2 cm3 น้ำนั้นจะมีจำนวนโมเลกุลเท่าใด
กำหนดให้ : ความหนาแน่นของน้ำเท่ากับ 1.0 g/cm3
1. 0.11 2. 36 3. 6.69x1022 4. 1.20x1024
ตอบ ข้อ 3.
วิธีทำ มวลโมเลกุลของน้ำ ( H2O) = 18
และ น้ำ 2 cm3 จะมีมวล = 2 กรัม
จาก 6.02 1023
N m g
×
=
6.02 1023
128 N
×
=
N = 6.69 x 1023 โมเลกุล
12. สาร A มีมวลโมเลกุล 64 ประกอบด้วย S และ O อย่างละเท่าๆ กัน โดยมวล ถ้า
สาร A 16 กรัม มีจำนวนอนุภาคเท่ากับสาร B 19 กรัม สาร B ควรเป็นสารอะไร
1. NO2 2. CS2
3. CO2
4. SO2
ตอบ ข้อ 2.วิธีทำ ตอน 1 คิดสาร A
จาก m g
6.02 1023
N =
×
6.02 1023 1664
N =
×
N = 0.25 x 6.02 x 1023
นั่นคือ จำนวนอนุภาคของ A = 4 x 6.02 x 1023
เนื่องจากจำนวนอนุภาคของ B เท่ากับ A นั่นคือ จำนวนอนุภาค B = 4 x 6.02 x 1023
คิดสาร Bจาก m g 6.02 1023
N =×6.02 1023 1m90.25 x 6.02 x1023 =×mB = 76
ดังนั้น สาร B ควรเป็น CS2
เพราะ CS2 มีมวลโมเลกุล = 12 + 2(32) = 76 เช่นเดียวกับ B
13.กรดแอซีติก 24 กรัม จะมีจำนวนออกซิเจนอะตอมอยู่ทั้งหมดเท่ากับ
1. 6.02 x 1023 อะตอม 2. 4.82 x 1023 อะตอม
3. 2.41 x 1023 อะตอม 4. 1.20 x 1023 อะตอม
ตอบข้อ 2.
วิธีทำ กรดแอซีติก (CH3COOH ) มีมวลโมเลกุล = 12+3(1)+12+16+16+1 = 60
จาก 6.02 1023
N
× = m g
N = m g (6.02 x 1023)
N = 2604 (6.02 x 1023)
N = 2.41 x 1023 โมเลกุล2
เนื่องจาก CH3COOH 1 โมเลกุล ประกอบด้วย O 2 อะตอม
ดังนั้น CH3COOH 2.41 x 1023 โมเลกุล ประกอบด้วย O 4.82 x 1023 อะตอม
14.จะต้องเติมน้ำตาลทรายกี่กรัม ลงในสารละลายน้ำตาลเข้มข้น 5% โดยมวล จำนวน
200 กรัม เพื่อให้ได้สารละลายเข้มข้น 20% โดยมวล (37.50 กรัม)
ตอบ 37.5 กรัม
วิธีทำ ตอน1 สารละลายเข้มข้น 5% โดยมวล
ร้อยละโดยมวลต่อมวล = มวลสารละลาย
มวลตัวถูกละลาย x 100
5 = มวล2น0้ำ0ตาล x 100
มวลน้ำตาล = 10 กรัม
ทีนี้ ต้องการเปลี่ยนความเข้มข้นเป็น 20% โดยมวล สมมุติเติมน้ำตาลเข้าไปอีก X กรัม
สุดท้ายจึงมีสารละลาย 200 + X กรัม และมีน้ำตาล 10 + X กรัม
ร้อยละโดยมวลต่อมวล = มวลสารละลาย
มวลตัวถูกละลาย x 100
20 = 21000 + XX
+ x 100
X = 37.5 กรัม
15. เมื่อใช้ NaOH 20 กรัม เตรียมสารละลายให้มีความเข้มข้น 30% โดยมวล/ปริมาตร จะได้
สารละลายกี่ cm3 (66.67 cm3)
ตอบ 66.67 cm3
ตอบลบวิธีทำ จากโจทย์ มวล NaOH = 20 กรัม
ความเข้มข้นโดยมว /ปริมาตร = 30%
จะได้ % โดยมวล/ปริมาตร = ปริมาตรสารละลาย (cm3)
มวลตัวถูกละลาย (กรัม) x 100
30 =
ปริมาตร
20 x 100
∴ ดังนั้น ปริมาตรสารละลาย = 66.67 cm3
16โพแทสเซียมแมงกาเนต ( K2MnO4 ) จำนวน 59.1 กรัม ละลายในสารละลาย 100 cm3
ตอบลบสารละลายนี้มีความเข้มข้นกี่ mol / dm3 ( K=39 , Mn=55 , O=16 ) (3 โมล/ลิตร)
21. ตอบ 3 โมล/ลิตร
วิธีทำ จากโจทย์ มวลโมเลกุล (M) = K2MnO4 = 2(39) + 55 + 4(16) = 197
g = 59.1 กรัม, V = 100 cm3 , C = ?
จากสูตร M
g = 1C0V00
5199.71 = C1 x0 01000
C = 3 โมล/ลิตร
17.สารละลายชนิดหนึ่ง 100 cm3 เข้มข้น 3 mol/dm3 ต้องการเตรียมให้เข้มข้นเป็น 2
mol/dm3 จะต้องเติมน้ำจนมีปริมาตรเท่าใด (150 cm3)
ตอบ 150 cm3
วิธีทำ จากโจทย์ V1 = 100 cm3 C1 = 3 mol/ dm3
V2 = ? C2 = 2 mol/ dm3
จะได้ C1 V1 = C2 V2
3 x 100 = 2 x V2
V2 = 150 cm3
18.ผสมสาระลายกรด HCl ขวดที่ 1 ซึ่งมีความเข้มข้น 1 mol/ dm3 จำนวน 300 cm3 กับ
HCl ขวดที่ 2 ซึ่งมีความเข้มข้น 2 mol/ dm3 จำนวน 200 cm3 แล้วเติมน้ำลงไปอีก 500
cm3 ถามว่าสารละลายผสมที่ได้จะมีความเข้มข้นกี่ mol/ dm3 ( 0.7 )
ตอบ 0.7 mol /dm3
จากโจทย์ C1 = 1 mol/ dm3 V1 = 300 cm3
C2 = 2 mol/ dm3 V2 = 200 cm3
VH2O = 500 cm3 Cรวม = ?
จะได้ Vรวม = 300 + 200 + 500 = 1000 cm3
จากสูตร Cรวม Vรวม = C1 V1 + C2 V2
Cรวม (1000) = 1(300) + 2(200)
Cรวม = 1700000 = 0.7 mol/ dm3
19. เมื่อผสม NaCl 2 mol/dm3 จำนวน 10 cm3 กับ 4 mol/dm3 จำนวน 100 cm3 แล้วเติม NaCl
อีก 175.5 g แล้วเติมน้ำจนมีปริมาตร 500 cm3 จงหาความเข้มข้นสารผสม (6.84 mol/dm3)
ตอบ 6.84 mol /dm3
วิธีทำ จากโจทย์ C1 = 2 mol/ dm3 V1 = 10 cm3
C2 = 4 mol/ dm3 V2 = 100 cm3
g3 = 175.5 กรัม => m
g = C1030V03
C3 V3 = 1000 x m
g
Cรวม = ? Vรวม = 500 cm3
จากสูตร Cรวม Vรวม = C1 V1 + C2 V2 + C3 V3
Cรวม (500) = 2(10) + 4(100) + 100 x m
g
Cรวม = 500 58.5
20 + 400 + 100 x 175.5
Cรวม = 6.84 mol/ dm3
20.สารละลาย NaOH เข้มข้น 6.0 M มีความหนาแน่น 1.24 g/cm3 จะมีความเข้มข้น
คิดเป็นร้อยละโดยมวลเท่ากับเท่าไร
1. 0.15 2. 1.86 3. 19.35 4. 24.00
ตอบ ข้อ 3
ธีทำ จากโจทย์ C = 6 M , D = 12.4 g /cm3 % โดยมวล = ?
มวลโมเลกุลของ NaOH = 23 + 16 1 40
จาก C = % 1M0 D
จะได้ว่า 6 = 40
% (10) (12.4)
% โดยมวล = 19.35
1)ในการเตรียมกรดเกลือ (HCl) 1 โมล ปริมาตร 0.5 ลิตร ในห้องปฏิบัติการ โดยการ
ตอบลบท้าปฏิกิริยาระหว่างกรดซัลฟูริก (H2SO4
) และโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) นั้น ถ้าความหนาแน่นของกรด
เกลือมีค่า 1.20 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร
ก้าหนดให้
2 4 2 4 H SO NaCl HCl Na SO
(น้ำหนักอะตอม H = 1, O = 16, Na = 23, S = 32, Cl = 35.5)
Soln
ดุลสมการ
2 4 2 4 H SO 2NaCl 2HCl Na SO
1. จงหาปริมาณโดยน ้าหนักของกรดซัลฟูริก (กี่กรัม) ที่ใช้ในการเตรียมกรดเกลือ
จาก
2 4 2 4 H SO 2NaCl 2HCl Na SO
จะได้
2 4 H SO 1 mol
มวล g
= 98 g 2
ดังนั้น น้ำหนักของกรดซัลฟูริก = 49 [g] #
2. จงหาปริมาณโดยน ้าหนักของโซเดียมคลอไรด์ (กี่กรัม) ที่ใช้ในการเตรียมกรดเกลือ
จาก
2 4 2 4 H SO 2NaCl 2HCl Na SO
จะได้
NaCl 1 mol
มวล g = 2x58.5 g
2
ดังนั้น น้ำหนักของโซเดียมคลอไรด์ = 58.5 [g] #
2)สารละลายกรดฟอสฟอริก (H3PO4) ปริมาตร 35 ลูกบาศก์เซนติเมตร มีความ
เข้มข้นร้อยละ 40 โดยมวล มีความหนาแน่น 0.21 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร หากเติมน ้ากลั่นจน
สารละลายกรดฟอสฟอริกมีปริมาตรเป็น 525 ลูกบาศก์เซนติเมตร จะได้สารละลายกรดมีความ
เข้มข้นกี่โมลต่อลิตร (ก้าหนดมวลอะตอม H = 1, P = 31 และ O = 16)
Soln
หาความเข้มข้นของ H3PO4
ได้จาก
จะได้
3 4
40x10x0.21 6
H PO M
98 7
จาก C1V1 = C2V2
จะได้
2
6
x35 C x525
7
ดังนั น
2
C 0.06 M
#
3)สารละลาย Ca(OH)2 มีความเข้มข้น 0.04 โมลต่อลิตร ปริมาณกี่ลูกบาศก์
เซนติเมตร จึงจะมีไฮดรอกไซด์ไอออน (OH-
) เท่ากับสารละลายซึ่งได้จากการละลาย NaOH จ้านวน 4
กรัม ลงในน ้า 4 ลิตร
(ก้าหนดมวลอะตอม Na = 23, O = 16 และ H = 1)
Soln
จาก
2
Ca OH Ca 2OH
และ
NaOH Na OH
ดังนั น ความเข้มข้นของ OH-
ของ Ca(OH)2 จะเท่ากับ
2x Ca OH
2
และ
ความเข้มข้นของ OH-
ของ NaOH จะเท่ากับ
NaOH
จาก
mol OH 2
ของ NaOH mol OH ของ Ca OH
จะได้
4
mol 2x0.04 M xV
40
ดังนั น
3
V 1.25 L 1,250 cm #
4)โลหะ A หนัก 0.56 g ท้าปฏิกิริยากับ HCl มากเกินพอ จะเกิด ACl2 และมีH2 448 cm3
ที่ STP
อยากทราบว่า โลหะ A 2 mol จะหนักกี่กรัม
(H = 1, Cl = 35.5)
Soln
จากโจทย์ สามารถเขียนสมการได้ดังนี
2 2 A 2HCl ACl H
เนื่องจาก HCl มากเกินพอ ดังนั น โลหะ A เป็นตัวก้าหนดปฏิกิริยา
จาก
2 2 A 2HCl ACl H
จะได้
A
3
3
448 cm
1x22400
0.56
mol
1xMW cm
A
g
MW 28
mol
ดังนั น โลหะ
A 2 mol 2x28 56 g #
5)เมื่อน้า NaOH 0.1 mol/dm3
จ้านวน 500 cm3
และสารละลาย NaOH 0.2 mol/dm3
จ้านวน 750
cm
3
มาผสมกัน แล้วเติมน ้าอีก 350 cm3
แบ่งสารละลายใหม่ออกมา 25 cm3 แล้วระเหยให้น ้า
ออกไปจนหมด จะเหลือ NaOH อยู่กี่กรัม
(Na = 23, O = 16, H = 1)
Soln
หาความเข้มข้นรวมหลังผสม
จาก
รวม รวม 1 1 2 2
C V C V C V molx1000
จะได้
รวม
C 0.2x750 500 750 350 0.1x500
รวม
C 0.125 M
จาก
sol
มวล (g) CV
MW 1000
จะได้
0.125x25
มวล x40 0.125 g
1000
#
6)ในปฏิกิริยาการเผาไหม้ของไพไรต์ (FeS2
ตอบลบ) จะท้าให้เกิดแก๊ส SO2 และ Iron (III) oxide ถ้าโรงงานแห่ง
หนึ่งเผาถ่านหินหนัก 1.5 กิโลกรัม เมื่อถ่านหินสลายตัวหมดจะได้แก๊ส SO2 ปริมาตร 112 dm3
ที่
STP ถ่านหินนี มีไพไรต์อยู่ร้อยละเท่าใดโดยมวล
(Fe = 56, S = 32, O = 16)
Soln
จากโจทย์ สามารถเขียนสมการได้ดังนี
2 2 2 2 3 4FeS 11O 8SO 2Fe O
จาก
2
Fe
3
3
S 112 dm
มวล g
4 x120 g 8x22.4 dm
จะได้
2
FeS มวล 300 g
ดังนั น ถ่านหินนี จะมีไพไรต์อยู่
300 g
x100 ร
้
อยละ20
1500 g
#
7)น้าทองเหลืองซึ่งเป็นสารประกอบระหว่าง Cu กับ Zn 15 กรัม มาท้าปฏิกิริยากับ HNO3 3.0
mol/dm3
ถ้าต้องใช้ HNO3 303 cm3
จงหาร้อยละโดยมวลของ Cu และ Zn ในทองเหลือง
(Cu = 63.5, Zn = 65)
Soln
สมการเคมีของปฏิกิริยาดังกล่าวเป็นดังนี
3 2 3 2 2
Cu s 4HNO aq 2NO g Cu NO aq 2H O l
3 4 3 3 2 2
4Zn s 10HNO aq NH NO aq 4Zn NO aq 3H O l
ก้าหนดให้ ในทองเหลือง 15 กรัม ประกอบด้วย Cu a กรัม และ Zn 15-a กรัม
จาก
3 2 3 2 2
Cu s 4HNO aq 2NO g Cu NO aq 2H O l
จะได้
3
a g molHNO
63.5 g 4
ดังนั น
3
HNO
4a
mol
63.5
จาก
3 4 3 3 2 2
4Zn s 10HNO aq NH NO aq 4Zn NO aq 3H O l
จะได้
3
15 a g molHNO
2x65 g 5
ดังนั น
3
HNO
15 a
mol
26
จาก (1) และ (2);
3
HNO
4a 15 a 3x303
mol
63.5 26 1000
จะได้
a 13.54
ดังนั น ร้อยละโดยมวลของ
13.54
Cu x100 90.25
1
%
5
ร้อยละโดยมวลของ
Zn 100 90.25 9.75%
#
8)ระบบก าจัดมูลฝอยชุมชน ส่วนใหญ่นิยมใช้ระบบฝังกลบมูลฝอยแบบถูกหลัก
สุขาภิบาล ซึ่งจ าเป็นต้องมีการปูพลาสติกรองพื้น เพื่อป้องกันน้ าชะมูลฝอยไหลซึมลงแหล่งสู่น้ าใต้ดิน
ซึ่งพลาสติกดังกล่าวมีความหนาแน่นสูง ค่อนข้างนิ่ม และมีความเหนียวไม่แตกง่าย อยากทราบว่าควร
ใช้พลาสติกชนิดใด
1. PP 2. PET 3. LDPE
4. PS 5. HDPE
เนื่องจาก HDPE เป็นพลาสติกประเภทพอลิเอทิลีน (PE) ที่มีความหนาแน่นสูง มีความเหนียว
ค่อนข้างนิ่ม ยืดหยุ่น ต้านทานแรงต่าง ๆ ได้ดีทนทานต่อการแตกหรือการหักงอได้ดี
9)ตัวถังของรถยนต์ที่ท ามาจากพลาสติกนั้นเป็นพลาสติกชนิดใด
1. พอลิเอสเทอร์ 2. พอลิเอทิลีน 3. พอลิโพรพิลีน
4. พอลิไวนิลคลอไรด์ 5. พอลิเอไมด์
เนื่องจาก ข้อ 1 พอลิเอสเทอร์ (ดาครอน) มีสมบัติทนความร้อนและแสงแดด ทนสารเคมี
จึงนิยมน ามาใช้ท าตัวถังของรถยนต์
ข้อ 2 พอลิเอทิลีน นิยมน ามาใช้ท าเครื่องใช้ภายในบ้าน ของเล่น ดอกไม้พลาสติก
ถุงบรรจุอาหาร ฟิล์ม
ข้อ 3 พอลิโพรพิลีน นิยมน ามาใช้ท าภาชนะบรรจุสารเคมี กระเป๋าเดินทาง โต๊ะ เก้าอี้
ข้อ 4 พอลิไวนิลคลอไรด์ นิยมน ามาใช้ท าท่อน้ า กระดาษปิดผนัง กระเบื้องยางปูพื้น
บัตรเครดิต ฉนวนสายหุ้มไฟฟ้า
ข้อ 5 พอลิเอไมด์ นิยมน ามาใช้ท าเชือก ด้าย ถุงน่อง ชุดชั้นใน สายไฟฟ้า
10)ข้อใด ไม่ใช่คุณสมบัติที่โดดเด่นของเส้นใยสังเคราะห์ (Synthetic fiber)
ก. ไม่ยับง่าย
ข. ทนต่อจุลินทรีย์ เชื้อรา แบคทีเรีย
ค. เส้นใยทนแรงดึงได้มาก
ง. ไม่ดูดน้ า น้ าหนักเบา
จ. เป็นฉนวนที่ดีเช่นเดียวกับยางสังเคราะห์
1. ก และ ค 2. ข และ ง 3. ค และ จ
4. ง และ จ 5. ข และ ค
เนื่องจาก เส้นใยสังเคราะห์มีคุณสมบัติคือ เป็นเส้นใยที่มีการเรียงตัวยาว และค่อนข้างเป็นระเบียบ
สามารถทนต่อจุลินทรีย์เชื้อรา แบคทีเรียได้ไม่ยับง่าย แห้งเร็ว และทนต่อสารเคมี
ดังนั้น ตัวเลือกข้อ ค และ จ จึงผิด จึงตอบตัวเลือกที่ 3
11)สารละลายชนิดหนึ่งประกอบด้วย C2H5OH 92 กรัม และน ้า 144 กรัม จงค้านวณหาความเข้มข้นใน
ตอบลบหน่วย
(C2H5OH มีความหนาแน่น 0.79 g/cm
3
และน ้ามีความหนาแน่น 1 g/cm
3
)
1. ร้อยละโดยมวล
Soln
จาก
จะได้ %โดยมวล =
92 g
x100 38.98
92 144
%
g
#
2. โมลาริตี
Soln
จาก
3
92
46 mol
M x1000 7.68
92 144 cm
0.7
M
9 1
3. โมแลลลิตี
Soln
จาก
92
46 mol
m 13.88m
144 kg
1000
% = x 100
ปริมาณของสารตัวถูกละลาย
ปริมาณของสารละลายทั งหมด
M =
โมลของตัวถูกละลาย (mol)
ปริมาตรรวมของสารละลาย (dm3
)
จะได้ #
m =
โมลของตัวถูกละลาย (mol)
มวลรวมของตัวท้าละลาย (kg)
จะได้ #
12)สารละลายกรดฟอสฟอริก (H3PO4
) ปริมาตร 35 ลูกบาศก์เซนติเมตร มีความ
เข้มข้นร้อยละ 40 โดยมวล มีความหนาแน่น 0.21 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร หากเติมน ้ากลั่นจน
สารละลายกรดฟอสฟอริกมีปริมาตรเป็น 525 ลูกบาศก์เซนติเมตร จะได้สารละลายกรดมีความ
เข้มข้นกี่โมลต่อลิตร (ก้าหนดมวลอะตอม H = 1, P = 31 และ O = 16)
Soln
หาความเข้มข้นของ H3PO4
ได้จาก
จะได้
3 4
40x10x0.21 6
H PO M
98 7
จาก C1V1 = C2V2
จะได้
2
6
x35 C x525
7
ดังนั น
2
C 0.06 M
#
13)เก้าอี้พลาสติกและบรรจุภัณฑ์อาหาร ส่วนใหญ่ท ามาจากพลาสติกชนิดใด
1. พอลิสไตรีน
2. พอลิโพรพิลีน
3. พอลิไวนิลคลอไรด์
4. พอลิยูเรียฟอร์มาลดีไฮด์
5. พอลิเอทิลีน
เนื่องจาก ข้อ 1 พอลิสไตรีน นิยมน ามาใช้ท าโฟมบรรจุอาหาร วัสดุลอยน้ า ฉนวนกระติกน้ า
ข้อ 2 พอลิโพรพิลีน นิยมน ามาใช้ท าภาชนะบรรจุสารเคมี กระเป๋าเดินทาง โต๊ะ เก้าอี้
ข้อ 3 พอลิไวนิลคลอไรด์ นิยมน ามาใช้ท าท่อน้ า กระดาษปิดผนัง กระเบื้องยางปูพื้น
บัตรเครดิต ฉนวนสายหุ้มไฟฟ้า
ข้อ 4 พอลิยูเรียฟอร์มาลดีไฮด์นิยมน ามาใช้ท ากาว เต้าเสียบไฟฟ้า
แผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ แผ่นพอร์ไมกา
ข้อ 5 พอลิเอทิลีน นิยมน ามาใช้ท าเครื่องใช้ภายในบ้าน ของเล่น ดอกไม้พลาสติก
ถุงบรรจุอาหาร ฟิล์ม
14)ข้อใดกล่าว ถูกต้อง ในการเปรียบเทียบคุณสมบัติของเส้นใยไนลอนกับเส้นในฝ้าย
ก. เส้นใยฝ้ายยับยากกว่าเส้นใยไนลอน
ข. เส้นใยไนลอนซักง่ายและแห้งเร็วกว่าเส้นใยฝ้าย
ค. เส้นใยฝ้ายเหมาะกับอากาศเย็น
ง. เส้นใยไนลอนทนต่อสารเคมีมากกว่าเส้นใยฝ้าย
1. ก และ ค 2. ก และ ง 3. ข และ ค
4. ค และ ง 5. ข และ ง
เนื่องจาก - เส้นใยฝ้ายเป็นเส้นใยธรรมชาติ จึงเป็นเส้นใยที่ดูดซับน้ าง่าย และแห้งช้า เป็นราง่าย
หดตัวได้มาก และยับง่าย
- เส้นใยไนลอน เป็นเส้นใยสังเคราะห์ สามารถทนต่อจุลินทรีย์ เชื้อรา แบคทีเรียได้
ไม่ยับง่าย แห้งเร็ว และทนต่อสารเคมี
พิจารณาตัวเลือกข้อ ก ผิด เนื่องจาก เส้นใยฝ้ายยับง่ายกว่าเส้นใยไนลอน
ข้อ ค ผิด เนื่องจาก เส้นใยไนลอนเหมาะกับอากาศเย็นมากกว่า
15)พลาสติกชนิดใดต่อไปนี้หากน ามาเผาแล้วจะท าให้สภาพแวดล้อมเป็นพิษมากที่สุด
1. พอลิเอทิลีน (PE) 2. พอลิโพรพิลีน (PP) 3. พอลิสไตรีน (PS)
4. พอลิไวนิลคลอไรด์ (PVC) 5. พอลิเอสเตอร์
เนื่องจาก เมื่อพอลิไวนิลคลอไรด์ (PVC) ถูกเผา จะท าให้เกิดแก๊ส CO2
, CO และ HCl ซึ่งเป็นอันตราย
ต่อสุขภาพและเป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม เมื่อแก๊สเหล่านี้เมื่อรวมตัวกับความชื้นในอากาศ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งการรวมตัวของ HCl กับความชื้นในอากาศได้เป็นกรดไฮโดรคลอริก
ซึ่งเป็นกรดแก่ที่มีฤทธิ์การกัดกร่อนสูงมาก
16)ข้อใด ไม่ใช่สมบัติของพลาสติกที่ใช้ในการท าขวดน้ าแบบใส (PET)
ตอบลบ1. ผลิตจากสารพอลิเอทิลีน เทเรพทาเลท (Polyethylene Terephthalate)
2. จัดเป็นพอลิเมอร์ประเภทเทอร์โมเซท (Thermoset)
3. จัดเป็นพอลิเมอร์ประเภทเทอร์โมพลาสติก (Thermoplastic)
4. เมื่อได้รับความร้อนสามารถคืนรูปเดิม หรือเปลี่ยนรูปได้
5. สามารถรีไซเคิล (Recycle) ได้
เนื่องจาก พลาสติก PET ผลิตจากสารพอลิเอทิลีน เทเรพทาเลท (Polyethylene Terephthalate)
ซึ่งจัดเป็นพอลิเมอร์ประเภทเทอร์มอพลาสติก ซึ่งมีสมบัติคือ เมื่อได้รับความร้อนจะสามารถ
คืนรูปเดิม หรือเปลี่ยนรูปได้ ท าให้สามารถน ากลับมาใช้ใหม่ได้
แต่ข้อที่ 2 มีสมบัติไม่สอดคล้องกับสมบัติของพลาสติก PET จึงตอบตัวเลือกที่ 2
17)ข้อใดจัดประเภทของพลาสติกได้ ถูกต้อง
เทอร์มอพลาสติก พลาสติกเทอร์มอเซต
1.
โฟม. เก้าอี้พลาสติก
2.
ถุงพลาสติก ดอกไม้พลาสติก
3.
กระดาษปิดผนัง เต้าเสียบไฟฟ้า
4.
ด้ามจับเตารีด. ฟิมล์ถ่ายภาพ
เนื่องจาก จากตัวเลือกที่โจทย์ก าหนดให้ สามารถแบ่งประเภทของพลาสติกได้ดังนี้
1. เทอร์มอพลาสติก ได้แก่ เก้าอี้พลาสติก (PP)
ถุงพลาสติก, ดอกไม้พลาสติก, ฟิล์มถ่ายภาพ (PE)
กระดาษปิดผนัง (PVC)
2. พลาสติกเทอร์มอเซต ได้แก่ โฟม (มีทั้งเทอร์มอพลาสติก และพลาสติกเทอร์มอเซต)
ด้ามจับเตารีด (เบกาไลต์)
เต้าเสียบไฟฟ้า (Polyuria – formaldehyde)
พิจารณาตัวเลือกข้อ 1 ผิด เนื่องจาก โฟมเป็นพลาสติกเทอร์มอเซต
เก้าอี้พลาสติกเป็นเทอร์มอพลาสติก
ข้อ 2 ผิด เนื่องจาก ดอกไม้พลาสติกเป็นเทอร์มอพลาสติก
ข้อ 4 ผิด เนื่องจาก ด้ามจับเตารีดเป็นพลาสติกเทอร์มอเซต
ฟิล์มถ่ายภาพเป็นเทอร์มอพลาสติก
18)ข้อความใดต่อไปนี้ ผิด
ก.พอลิเอทิลีนเป็นเทอร์มอเซตที่โมเลกุลมีการเชื่อมโยงเป็นร่างแห ไม่สามารถน ามาหลอมใหม่ได้
ข. ภาชนะเมลามีนสามารถน ามารีไซเคิล หรือหลอมใช้ใหม่ได้ เพื่อลดมลภาวะ
ค. พลาสติกที่มีโครงสร้างโมเลกุลเป็นโซ่ตรง จะอ่อนตัวเมื่อได้รับความร้อนและแข็งตัวเมื่อ
ลดอุณหภูมิลงเรียกว่า เทอร์มอพลาสติก
ง. เทฟลอนที่ใช้เคลือบภาชนะหุงต้ม เป็นเทอร์มอเซต เนื่องจากทนความร้อนดีมาก
และไม่หลอมเหลว
1. ก และ ข เท่านั้น 2. ก ข และ ง เท่านั้น
3. ก ค และ ง เท่านั้น 4. ก ข ค และ ง
เนื่องจาก ข้อ ก พอลิเอทิลีนเป็นเทอร์มอพลาสติกที่มีโมเลกุลเชื่อมโยงเป็นเส้นและกิ่ง
สามารถน ามาหลอมใหม่ได้
ข้อ ข ภาชนะเมลามีนเป็นพลาสติกประเภทเทอร์มอเซต ไม่สามารถน ามารีไซเคิลได้
ข้อ ง เทฟลอนเป็นเทอร์มอพลาสติก ทนสารเคมีได้ดีทุกช่วงอุณหภูมิ และมีผิวลื่น
19)ในปัจจุบันภาชนะที่ท าด้วยพลาสติกมีขายอยู่ทั่วไปราคาไม่แพง มีการออกแบบเป็นภาชนะ
รูปต่าง ๆ น่าใช้ สีสวยแต่พีวีซีไม่เหมาะจะใช้ท าภาชนะใส่อาหาร เพราะเหตุใด
1. มอนอเมอร์ ซึ่งเป็นสารก่อมะเร็งอาจหลุดออกมาปนในอาหาร
2. พีวีซี เมื่อถูกความร้อนจะสลายให้แก๊สคลอรีนออกมา
3. ในกระบวนการพอลิเมอไรเซชันของพีวีซีนั้น มีการใช้สารที่มีตะกั่วเจือปนรวมอยู่ด้วย
4. สีที่ฉาบพีวีซี จะไม่ติดแน่น และเมื่อสีนี้หลุดออกจากภาชนะจะเข้าสู่ร่างกายและก่อให้เกิดมะเร็งได้
เนื่องจาก ข้อ 1 พีวีซี มีมอนอเมอร์คือ ไวนิลคลอไรด์ซึ่งเป็นสารก่อมะเร็ง
ข้อ 2 ผิด เนื่องจาก เมื่อเผาพีวีซีจะได้แก๊ส HCl
ข้อ 3 ผิด เนื่องจาก กระบวนการพอลิเมอไรเซชันไม่ใช้สารตะกั่วในการเกิดปฏิกิริยา
ข้อ 4 ผิด เนื่องจาก ไม่เกี่ยวข้องกับโทษของพีวีซี
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
ตอบลบ20) จงคำนวณหาค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) ของสารละลายที่มีความเข้มข้น [H+] = 1.6*10ยกกำลังลบ8 โมล/ลิตร กำหนดให้ log2 = 0.3
ตอบลบ1. 5.8
2. 6.8
3. 7.8
4. 8.8
5. 9.8
วิธีคิด
pH = -log [H+]
= -log (1.6คูณ10ยกกำลัง-8)
= -log (2ยกกำลัง8คูน10ยกกำลัง-9)
= 9 - 4 log2
= 7.8 #
ดังนั้น จึงตอบข้อ 3
1.(Ent.) ส่รละลายน้ำส้มสายชู (C2H4O2) มีปริมาณออกซิเจนอยู่ร้อยละ2สารละลายนี้จะมีกฏแอซีติกอยู่ร้อยละเท่าไร(C=12,H=1,O=16)
ตอบลบSol
C2H4O2 มีมวลโมเลกุล =12(2)+1(4)+16(2)
=60
O 16×2อยู่ใน C2H4O2 =60g
O 2g อยู่ใน C2H4O2 =60×2÷16×2
=3.75g
ดังนั้นสารละลายน้ำส้มสายชูมีกฏแอซีติกอยู่ร้อยละ3.75g#
2.(Ent.) ถ้าต้องการเตรียมน้ำเชื่อมมีความเข้มข้น 0.25โมล/กิโลกรัม จำนวน1.5 กิิโลกรัม อยากทราบว่า
จะต้องใช้น้ำตาลC12H22O11 จำนวนกี่กรัม
Sol
C12H22O11มีมวลโมเลกุล =12(12)+1(22)+16(11)
=342
C12H22O11 0.25โมล =0.25×342
=85.5g
มวลของน้ำเชื่อมเดิม =85.5+1000
=1085.5g
ในน้ำเชื่อม1085.5g มีC12H22O11 =85.5g
ในน้ำเชื่อม1.5×1000g มีC12H22O11
=85.5(1.5)(1000)÷1085.5
=118.15g
ดังนั้นจะต้องใช้CC12H2O11 =118.15g#
3.(Ent.) ถ้าเลขอาโวกาโดรมีค่า3.01×10ยกกำลัง23ค่าความเข้มข้นที่มีหน่วยเป็น mol/dm3 จะมีการเปลี่ยนเเปลงจากในปัจจุบันอย่างไร
Sol
ปกติเลขอาโวกาโดร = 6.02×10ยกกำลัง23
ถ้าเลขอาโวกาโดร = 3.01×10ยกกำลัง23
จะผลทำให้จำนวนโมลเพิ่มขึ้นเป็น2เท่า
เช่น 1mol/dm3= 6.02×10ยกกำลัง23โมเลกุล/dm3
=6.02×10ยกกำลัง23÷
= 3.0×10ยกกกำลัง23
=2mol/dm3#
4.(Ent.)สารละลาย H2So4 มีความหนาแน่น 1.070g/cm3 ประกอบด้วยเนื้อH2So4 10%โดยมวล จะมีปริมาตรกี่cm3 ถ้าสารละลายที่มีเนื้อ H2So4 บริสุทธิ์์ที่จำนวน 18.50 กรัม
Sol H2So4 มีมวลโมเลกุล = 1(2)+32(1)+16(4)
=98
C =%10D÷M
=10×10×1.07÷98
=1.09 mol/dm3
H2SO4 106.82g อยู่ในสารละลาย= 1000cm3
H2SO4 18.50g อยู่ในสารละลาย=1000×18.5 ÷106.82
=173.19cm3 #
5.(Ent.)สารละลายของสาร ค. ในน้ำมีความเข้มข้น15mol/dm3 มีความหนาเเน่น2.7 g/cm3 สารละลายนี้ 0.05dm3 จะมีน้ำอยู่ในปริมาตรเท่าใด (กำหนดให้ ค. มีมวลโมเลกุลเป็นสี่เท่าของน้ำและ H=1,O=16)
Sol
H2O มีมวโมเลกุล = 1(2)+16(1)
= 18
สาร ค. มีมวลโมเลกุล =18×4
= 32
สาร ค. 15 mol =15×72
= 1080
สารละลาย1dm3(1000cm3)มีมวล=1000×2.7
= 2700g
สารลาย0.05dm3 มีมวล =1000×0.05×2.7
=135 g
ในสารละลาย2700g มีน้ำ =2700-1080
=1620g
ในสารละลาย135gมีH2O =1620×135÷2700
=81g #
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
ตอบลบความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
ตอบลบ6.(Ent.)โซเดียมซัลเฟต0.4mol/dm3จำนวนกี่cm3 จึงมีNa+เท่ากับNa+ในโซเดียมคลอไรด์0.2mol/dm3 300cm3
ตอบลบsol xC1V1 = yC2V2
(Na2So4) = (NaCl)
x= จำนวน Na+ ใน Na2So4 =2
y= จำนวน Na+ ใน NaCl =1
2×0.4×V1 = 1×0.2×300
V1 = 0.2×300÷2×0.4
= 75cm3 #
7.(Ent.) สารละลายกลูโคส (C6H12O6 มีมวลโมเลกุล 180) มีความเข้มข้น 0.396 โมแลล และมีความหนาเเน่น 1.16 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร จะมีความเข้มข้นกี่โมลาร์
Sol C = n×1000÷v
สารละลายกลูโคสเข้มข้น 0.396 โมแลล
= 0.396 mol/kg
แสดงว่ามีกลูโคส =0.396 mol (n=0.396mol)
และมี H20 =1000g กลูโคส 0.396mol
=0.396×180= 71.28 g
มวลของสารละลาย = 71.28+1000 =1071.28g
ปริมาตรของสารละลาย=1071.28÷1.16 =923.52cm3
c= 0.396×1000 ÷ 923.52 =0.428M
ดังนั้นสารละลายกลูโคสมีความเข้มข้น = 0.428M #
8.(Ent.)เมื่อนำกรดซัลฟิวริกจำนวน 24.5g ละลายในน้ำ 200cm3 สารละลายที่ได้ความเข้มข้นร้อยละโดยมวลเท่าไร (ความหนาแน่นของน้ำ=1g/cm3)
Sol เนื่องจากน้ำมีความหนาเเน่น = 1g/cm3
ดังนั้นน้ำ200cm3 มีมวล = 200g
มวลของสารละลาย 200+24.5 =224.5g
สารละลาย 224.5g มีกรดซัลฟิวริก ละลายอยู่
=24.5×100 ÷224.5 =10.91g
ดังนั้น สารละลายที่ได้มีความเข้มข้นร้อยละ 10.91 โดยมวล #
9.(Ent.)สารละลาย 250 cm3 ปรากฏว่ามีสารAละลายอยู่ 3.01×10ยกกำลัง23 โมเลกุลสารละลาย Aมีความเข้มข้นเท่าใด
Sol
สารA6.02×10ยกกำลัง23โมเลกุล=1 โมล
สารA3.01×10ยกกำลัง23โมเลกุล=3.01×10ยกกำลัง23 ÷6.00210ยกกำลัง23 (โมล)
=0.5โมล
สารละลาย250cm3มีเนื้อสารAละลายอยู่=0.5โมล
สารละลาย1000cm3มีเนื้อสารAละลายอยู่= 0.5×1000÷250 =2
ดังนั้นสารละลายAมีความเข้มข้น 2mol/ลิตร #
10.(มช.) มวลโมเลกุลของสารในข้อใดมากที่สุด
1)Ca3(Po4)2 2)CuSo4•5H2O
3)Pb(No3)2 4)K2Cr2O7
Sol
มวลโมเลกุลของCa3(Po4)2=3(40)+[31+4(16)]×2
=120+95(2) =310
มวลโมเลกุลของCuSo4•5H20=63.5+32+4(16)+5[2(1)+16]
=63.5+32+64+90=249.5
มวลโมเลกุลของPb(No3)2=207+[14+3(16]×2
=207+124=331
มวลโมเลกุลของK2Cr2O7=2(39)+2(52)+7(16)
=78+104+112=294
ดังนั้นPb(No3)2จะมวลโมเลกุลมากที่สุด=331 #
11.(มช.40)ธาตุM มีมวลอะตอม70และมีความหนาเเน่นเท่ากับ5.02g/cm3ปริมาตรเฉลี่ยของธาตุนี้1อะตอมจะมีกี่cm3
ตอบลบSolจากมวลอะตอมM=70amu
=70(1.66×10ยกกำลัง-24)กรัม
ความหนาเเน่น 5.02 g/cm3 ปริมาตร=?
จากความหนาแน่น=มวล÷ปริมาตร
=70(1.66×10ยกกำลัง-24)÷5.02
=2.31×10ยกกำลัง-23g/cm3 #
12.(มช.38) ก๊าซชนิดหนึงมีปริมาตร448cm3 ที่STPมีมวล0.60g ก๊าซนี้คือ
Sol โจทย์บอก Vแก๊ส =448cm3=0.448ลิตร
g=0.60 กรัม
จาก g÷m = V÷22.4
0.6÷m = 0.448÷22.4
m = 0.6(22.4×10ยกกำลัง3)÷448×10ยกกำลัง-3
= 30
แสดงว่าสารนี้มีมวลโมเลกุลเท่ากับ30 ซึ่งน่าจะเป็นC2H6
เพราะC2H6มีมวลโมเลกุล=2(12)+6(1)=30เช่นกัน #
13.(มช.38)กรดแอซีติก24กรัม จะมีจำนวนออกซิเจนอะตอมอยู่ทั้งหมดเท่ากับ
Sol กรดแอซีติก (CH3COOH)มีมวลโมเลกุล
=12+3(1)+12+16+16+1=60
จาก N÷6.02×10ยกกำลัง23 = g÷m
N=(g÷m)6.02×10ยกกำลัง23
N=(24÷60)6.02×10ยกกำลัง23
N=2.41×10ยกกำลัง23โมเลกุล #
14.(มช.43)ถ้านักเรียนตักน้ำบริสุทธิ์มา 2 cm3 น้ำนั้นจะมีจำนวนโมเลกุลเท่าใด (กำหนดให้ความหนาแน่นของน้ำเท่ากับ1.0g/cm3)
Sol มวลโมเลกุลของน้ำ H2O = 18
จากความหนาเเน่ของน้ำเท่ากับ1.0g/cm3
น้ำ2cm3 จึงมีมวล =2g
จาก g÷m = N÷6.02×10ยกกำลัง23
2÷18 = N÷6.02×10ยยกกำลั23
N = 6.69×10ยกกำลัง22 โมเลกุล #
15.(มช.39)ข้อความใดที่ไม่ใช่สมบัติของสารใดๆปริมาตร 22.4dm3 ที่อุณหภูมิความดันมาตรฐาน
1) จำนวนโมล =6.02×10ยกกำลัง23 โมล
2) มวล=มวลโมเลกุลคิดเป็นกรัม
3)จำนวนโมเลกุล=6.02×10ยกกำลัง23 โมเลกุล
4)จำนวนโมเลกุลของก๊าซนี้เท่ากับจำนวนโมเลกุลของไฮโดรเจน
Sol ตอบข้อ1 เพราะก๊าซ22.4ที่STPมีเพียง1โมลเท่านั้น ไม่ใช่ 6.02×10ยกกำลัง23โมล #
16.(Pat2 มี.ค.52)จากการวิเคราะห์ผลึกของสารประกอบชนิดหนึ่งซึ่งมีสูตรเป็น Na2XH20O14 พบว่าผลึกนี้1.5กรัม มีธาตุXร้อยละ15.2โดยมวล มวลอะตอมของธาตุXเป็นเท่าไร
ตอบลบSol%X=(มวลต่อโมลของธาตุ÷มวลต่อโมลของสาร)100
จะได้15.2=(X÷46+20+224+X)100
15.2=(X÷290+X)100
X =51.8867
=52 #
17.(Ent.)สารประกอบชนิดหนึ่งมีสูตรA2CO3•10H2Oมีน้ำผลึกเป็นองค์ประกอบร้อยละ63โดยมวล ธาตุAมีมวลอะตอมเท่าใด (H=1,O=16,C=12)
Sol
A2CO3•10H2Oมีมวลโมเลกุล=2A+12+48+180
=240+2A
A2CO3•10H2O 240+2AกรัมมีH2O=180กรัม
ถ้าA2CO3•10H2O 100กรัม มีH2O=(180×100)÷(240+2A) (กรัม)
ดังนั้น(180×100)÷(240+2A)=63
A = 22.86
ดังนั้นธาตุAมีมวลอะตอมเท่ากับ 23 #
18.(Ent.) น้ำตาลกลูโคส(C12H22O11)จำนวนหนึ่งจากการวิเคราะห์พบว่ามีธาตุคาร์บอนอยู่84กรัม น้ำตาลกลูโคสจำนวนนี้มีธาตุออกซิเจนกี่กรัม
Sol ใน C12H22O11 ถ้ามี C=12×12=144กรัม จะมีO=16×11=176กรัม
ถ้ามีC 84กรัม จะมีO =(176×48)÷144=102.67กรัม
ดังนั้นมีธาตุออกซิเจน =102.67กรัม #
19.(Ent.)ธาตุA เกิดสารประไฮไดรด์มีสูตรAH4 ถ้าก๊าซนี้11.2dm3ที่STPมีมวล16กรัม ธาตุAมีมวลอะตอมเท่าใด
Sol g÷M = v÷22.4=>16÷M =11.2÷22.4
M=(16×22.4)÷11.2 = 32
AH4 มีมวลโมเลกุล = 32
A+4(1) =32
A =32-4
=28
ดังนั้น ธาตุAมีมวลอะตอม 28 #
20.(Pat)ถ้าต้องการกำจัดซัลเฟอร์ไดออกไซด์ในอากาศด้วยปฏิกิริต่อไปนี้
2CaCO3(s)+2SO2(g)+O2(g)--->
2CaSO4(s)+2CO2(g)
จะต้องใช่ CaCO3กี่กรัมที่จะกำจัด SO2 1120cm3ที่STP
Sol จากสมการ2CaCO3(s)+2SO2(g)+O2 (g)
--->2CaSO4(s)+2CO2(g)
mol CaCO3 = mol So2
=1120÷22400=0.05mol
ดังนั้นจะต้องใช้CaCO3 =0.05×100=5g #
แแก้แทนข้อที่ซ้ำกับเพื่อนค่ะ😊(ข้อ12,13,14)
ตอบลบ12.(Ent)อากาศประกอบด้วยO2(g)จำนวน21%โดยปริมาตรอยากทราบว่าอากาศปริมาตร1cm3ที่STPประกอบด้วยO2(g)กี่โมเลกุล
Sol อากาศ 100cm3 มีO2 = 21cm3
อากาศ 1 cm3 มี O2 =21÷100 =0.21
=0.21÷(22.4×1000)×6.02×10ยกกำลัง23 โมเลกุล
=5.64×10ยกกำลัง18 โมเลกุล#
13.(Ent.)ก๊าซชนิดหนึ่งมีมวล0.8850กรัม และมีปริมาตร450cm3ที่ STP จะมีมวลโมเลกุลเท่าใด
Sol g÷M = V÷22.4=>
0.8850÷M=450÷(22.4×1000)
M=(0.8850×22.4×1000)÷450
=44.053 #
14.(Ent.) มวลอะตอมธาตุ ก 1อะตอมมีค่าเท่ากับ a gแต่มวลอะตอมของธาตุ ก มีค่าเท่ากับ b ถ้ามวลอะตอม
ของธาตุ ข มีค่าเท่า c มวลของธาตุ ข 1อะตอมจะหนักกี่กรัม
Sol มวลอะตอมของธาตุ ก =มวลของธาตุ ก 1อะตอม ÷ 1/2มวลของc-12,1อะตอม ....(1)
มวลอะตอมของธาตุ ข = มวลของธาตุ ข 1 อะตอม ÷ 1/2มวลของc-12,1อะตอม .....(2)
(1)÷(2)มวลอะตอมของธาตุ ก/มวลอะตอมของธาตุุ ข
=มวลของธาตุ ก 1อะตอม/มวลของธาตุ ข. 1อะตอม
จะได้ b/c = a/มวลของธาตุ ข 1อะตอม
ดังนั้นมวลอะตอมของธาตุ ข. = ac/b #
นางสาว ตวงพร บุญหลวงวาณิชย์ เลขที่34 ชั้นม.4/1
ข้อ 1. ก๊าซ SO3,NO,NH3 และ CO2 ปริมาณ 8.0,8.4,4.0 และ 8.8 กรัม ตามลำดับก๊าซใดมีจำนวนอะตอมมากที่สุด
ตอบลบ(มวลอะตอม H=1, C=12, N=14, O=16, S=32)
1. SO3 2.NO 3.NH3 4.CO2
Sol. SO3, NO, NH3 และ CO2 มีมวลโมเลกุล = 80 30 17 และ 44 ตามลำดับ ก๊าซที่มีจำนวนอะตอมมากที่สุดคือก๊าซที่มีจำนวนโมลอะตอมมากที่สุด ซึ่งคำนวณได้ดังนี้
SO3 80 g มีจำนวนโมลอะตอม = 8/80*4 = 0.4 โมลอะตอม
NO 30 g มีจำนวนโมลอะตอม = 8.4/30*4 = 0.56 โมลอะตอม
NH3 17 g มีจำนวนโมลอะตอม = 4.0/17*4 = 0.94 โมลอะตอม
CO2 44 g มีจำนวนโมลอะตอม = 8.8/44*4 = 0.8 โมลอะตอม
ข้อ 2. ก๊าซระหว่าง CO และ CO2 ปนกันจำนวน 260 กรัม มีจำนวน 7 โมล จงคำนวณหาจำนวนโมลของ CO และ CO2 ตามลำดับ (C=12,O=16)
1.4,3 2. 2, 5 3. 3,4 4. 5, 2
Sol. CO และ CO2 = 28 และ 44 ตามลำดับ ให้มี CO = X g จึงมี CO2 = 260-x g
CO 28 g = 1 mol
CO X g = X mol
28
CO2 44 g = 1 mol
CO2 = 260-x g = 260 - X mol
44
ดังนั้น X 260 - X = 7
28 44
11x +7(260-x) = 7
308
11x +1,820 – 7x = 2,156
4x = 336
X = 336 = 84 g
4
ดังนั้นมี CO = 84 g 84/28 = 3 mol
และมี CO2 = 7 – 3 = 4 mol
แก้ชื่อเป็น นางสาวผกามาศ ทาดาพันธ์ เลขที่ 35 ม.4/1 เปลี่ยนชื่อไม่ได้
ข้อ 3. ธาตุ A 2 อะตอม มีมวลเท่ากับ 1.824 x กรัม มวลอะตอมของ A มีค่าเท่าใด
ตอบลบ(กำหนดให้ 12 1 มวลของ C – 12 เท่ากับ 1.66x10–24 กรัม) (55)
ตอบ 55
วิธีทำ ธาตุ A 2 อะตอม = 1.824 x 10–22 กรัม
ธาตุ A 1 อะตอม = 1824 10 22
2
. × − = 9.12 x 10–23 กรัม
ดังนั้น มวลอะตอม A = 1.66 10 24
9.12 10 23-25
× −
× − = 55
ข้อ 4. สมมติธาตุ X มี 3 ไอโซโทป ในธรรมชาติ คือ
เปอร์เซ็นต์ในธรรมชาติ มวล
ไอโซโทปที่ 1
ไอโซโทปที่ 2
ไอโซโทปที่ 3
80
15
5
12
13
14
จงหามวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุ X (12.25 )
Σ ( % x มวล )
100
Chem Online pec9.com ตะลยุ โจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชดุ 1
2
ตอบ 12.25
วิธีทำ มวลอะตอมเฉลี่ย x = 100
Σ(% x มวล)
= 100
(80 x 12) +(15 x 13) +(5 x 14)
= 960 +1 10905 + 70
= 1110205 = 12.25
ข้อ 5. มวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุออกซิเจนในธรรมชาติเท่ากับ 16.032 แสดงว่าไอโซโทปใดของ
ออกซิเจนที่มีมากที่สุดในธรรมชาติ
1. 16O 2. 17O 3. 18O 4. เท่ากัน ( ข้อ 1)
ตอบ 1
เหตุผล เพราะมวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุจะมีค่าใกล้เคียงกับมวลที่มีเปอร์เซ็นต์ในธรรมชาติ
ธาตุ D ประกอบด้วยไอโซโทป 2 ชนิด ที่มีมวลอะตอม 10.00 และ 11.00 ตามลำดับ หาก
มวลอะตอมของธาตุ D เท่ากับ 10.20 ปริมาณในธรรมชาติของ D ที่มีมวลอะตอม 11.00
จะเท่ากับเท่าใด ( 20 )
ตอบ 20
วิธีทำ นำข้อมูลที่ได้มาเขียนตาราง ให้สมมติ % ในธรรมชาติ
D % ในธรรมชาติ มวล M – M น้อยสุด
ไอโซโทป 1
ไอโซโทป 2
100 – A
A
10
11
10 – 10 = 0
11 – 10 = 1
Mเฉลี่ย = 100
Σ% ( มวล - มวลน้อยที่สุด) + มวลน้อยที่สุด
= 100
A + 10
A = (10.20 – 10) x 100 = 20
ข้อ 6.(มช 46) มวลโมเลกุลของสารในข้อใดมีค่ามากที่สุด
1. Ca3(PO4)2 2. CuSO4 . 5H2O 3. Pb(NO3)2 4. K2Cr2O7 (ข้อ 3)
Chem Online pec9.com ตะลยุ โจทย์โควตา มช. บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์ ชดุ 1
3
(มช 46) ตอบ ข้อ 3
วิธีทำ ข้อ 1 มวลโมเลกุล Ca3(PO4) 2 = 3(40) + [31 + 4(16)] x 2
= 120 + (95)2 = 310
ข้อ 2 มวลโมเลกุล CuSO4 . 5H2O = 63.5 + 32 +4(16) + 5[2(1) + 16]
= 63.5 + 32 + 64 + 90 = 249.5
ข้อ 3 มวลโมเลกุล Pb(NO3)2 = 207 + [14 + 3(16)]2
= 207 + 124 = 331
ข้อ 4 มวลโมเลกุล K2Cr2O7 = 2(39) + 2(52) + 7(16)
= 78 + 104 + 112 = 294
∴ Pb (NO3)2 จะมีมวลโมเลกุลมากที่สุด = 331
ข้อ 2 มวลโมเลกุล CuSO4 . 5H2O = 63.5 + 32 +4(16) + 5[2(1) + 16]
= 63.5 + 32 + 64 + 90 = 249.5
ข้อ 3 มวลโมเลกุล Pb(NO3)2 = 207 + [14 + 3(16)]2
= 207 + 124 = 331
ข้อ 4 มวลโมเลกุล K2Cr2O7 = 2(39) + 2(52) + 7(16)
= 78 + 104 + 112 = 294
∴ Pb (NO3)2 จะมีมวลโมเลกุลมากที่สุด = 331
แก้ชื่อเป็น นางสาวผกามาศ ทาดาพันธ์ เลขที่ 35 ม.4/1 เปลี่ยนชื่อไม่ได้
1.(pat)สารประกอบชนิดหนึ่งมีมวลโมเลกุล 160 ประกอบด้วยธาตุA 50เปอร์เซ็นโดยน้ำหนักที่เหลือเป็นธาตุ X ถ้ามวลอะตอมของ A เท่ากับ20 และมวลอะตอมของXเท่ากับ40 สูตรโมเลกุลของสารประกอบดังกล่าวคือข้อใด
ตอบลบก.X2A4 ข.X4A2 ค.X3A2 ง.X2A
ตอบข้อ ก.
วิธีคิด Xเท่ากับ50 Aเท่ากับ50
หาสูตรอย่างง่าย Xคือ 50÷40เทากับ1.25 mol
Aคือ 50÷20เท่ากับ2.5 mol
นำ1.25มาหารจะเท่ากับ X 1.25÷1.25เท่กับ1
A 2.5÷1.25เท่ากับ2
ดังนั้นสูตรอย่างง่ายคือ XA2
หาสูตรโมเลกุล
(XA2)n เท่ากับ มวลโมเลกุล160
จะได้ (40+20×2)n เท่ากับ160
80n เท่ากับ160
n เท่ากับ 160÷80 ได้เท่ากับ2
ดังนั้น สูตรโมเลกุลคือ X2A4
2.(pat)เมื่อผสมสารละลาย NaOH เข้มข้น0.4โมล/ลิตร จำนวน 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร กับสารละลายNaOH เข้มข้น0.3โมล/ลิตร จำนวน20ลูกบาศก์เซนติเมตร สารละลายผสมมีความเข้มข้นกี่โมล/ลิตร
ก. 0.35 ข. 0.36 ค. 0.70 ง. 0.72
ตอบข้อ ข.
วิธีคิด CรวมVรวม = C1V1+C2V2
Cรวม = ((0.4×30)+(0.3×20))÷50
=0.36
นางสาวสุภาพร มากยอด
1.(pat)สารประกอบชนิดหนึ่งมีมวลโมเลกุล 160 ประกอบด้วยธาตุA 50เปอร์เซ็นโดยน้ำหนักที่เหลือเป็นธาตุ X ถ้ามวลอะตอมของ A เท่ากับ20 และมวลอะตอมของXเท่ากับ40 สูตรโมเลกุลของสารประกอบดังกล่าวคือข้อใด
ตอบลบก.X2A4 ข.X4A2 ค.X3A2 ง.X2A
ตอบข้อ ก.
วิธีคิด Xเท่ากับ50 Aเท่ากับ50
หาสูตรอย่างง่าย Xคือ 50÷40เทากับ1.25 mol
Aคือ 50÷20เท่ากับ2.5 mol
นำ1.25มาหารจะเท่ากับ X 1.25÷1.25เท่กับ1
A 2.5÷1.25เท่ากับ2
ดังนั้นสูตรอย่างง่ายคือ XA2
หาสูตรโมเลกุล
(XA2)n เท่ากับ มวลโมเลกุล160
จะได้ (40+20×2)n เท่ากับ160
80n เท่ากับ160
n เท่ากับ 160÷80 ได้เท่ากับ2
ดังนั้น สูตรโมเลกุลคือ X2A4
2.(pat)เมื่อผสมสารละลาย NaOH เข้มข้น0.4โมล/ลิตร จำนวน 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร กับสารละลายNaOH เข้มข้น0.3โมล/ลิตร จำนวน20ลูกบาศก์เซนติเมตร สารละลายผสมมีความเข้มข้นกี่โมล/ลิตร
ก. 0.35 ข. 0.36 ค. 0.70 ง. 0.72
ตอบข้อ ข.
วิธีคิด CรวมVรวม = C1V1+C2V2
Cรวม = ((0.4×30)+(0.3×20))÷50
=0.36
นางสาวสุภาพร มากยอด
3.(ent) สารประกอบกลูโคสฟอสเฟตมีมวลโมเลกุล 260 มีความหนาแน่น1.5กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตรปริมาตรเฉลี่ยของหนึ่งโมเลกุลจะเท่ากับ
ตอบลบ1. 39.99
2. 42.54
3. 45.72
4. 54.23
ตอบข้อ1
วิธีคิด สารประกอบกลูโคสฟอสเฟต 1.5g มีปริมาตร= 1ลูกบาศก์เซนติเมตร
สารประกอบกลูโคสฟอสเฟต260g มีปริมาตร=260÷1.5 ลูกบาศก์เซนติเมตร
ดังนั้น กลูโคสฟอสเฟต260g=1mol
เพราะฉะนั้นสารประกอบกลูโคสฟอสเฟต 6.02×10ยกกำลัง23 โมเลกุลมีปริมาตร =260÷1.5 ลูกบาศก์เซนติเมตร
สารประกอบกลูโคสฟอสเฟต1โมเลกุลมีปริมาตร
=260÷(1.5×6.02×10ยกกำลัง23)
=28.79×10ยกกำลัง-23 ลูกบาศก์เซนติเมตร
จะได้ประมาณ 29×10ยกกำลัง-23ลูกบาศก์เซนติเมตร
4 ถ้ากำมะถันมีมวลอะตอม32 หมายความว่า
1. กำมะถันมวลอะตอม 32×6.02×10ยกกำลัง-24g
2. กำมะถันมีมวลอะตอมเป็น32เท่าของC -12 1อะตอม
3. กำมะถัน1อะตอม มีมวล32×1.66×10ยกกำลัง-24 g
4. กำมะถัน1อะตอมมีมวล32g
ตอบข้อ3
วิธีคิด มวลอะตอมของกำมะถัน=มวลของกำมะถัน1อะตอม ÷มวลเศษ1ส่วน2ของC-12,1อะตอม
32= มวลของกำมะถัน1อะตอม÷1.66×10ยกกำลัง-24g
ดังนั้นมวลของกำมะถัน1อะตอม=32×1.66×10ยกกำลัง-24g
ข้อแก้ไขตัวเลือกจองข้อ3นะค่ะ
ตอบลบ1. 29×10ยกกำลัง-23 ลูกบาศก์เซนติเมตร
2. 43×10ยกกำลัง-23 ลูกบาศก์เซนติเมตร
3. 0.67×10ยกกำลัง-23 ลูกบาศก์เซนติเมตร
4. 0.17×10ยกกำลัง-23 ลูกบาศก์เซนติเมตร
ข้อแก้ไขตัวเลือกจองข้อ3นะค่ะ
ตอบลบ1. 29×10ยกกำลัง-23 ลูกบาศก์เซนติเมตร
2. 43×10ยกกำลัง-23 ลูกบาศก์เซนติเมตร
3. 0.67×10ยกกำลัง-23 ลูกบาศก์เซนติเมตร
4. 0.17×10ยกกำลัง-23 ลูกบาศก์เซนติเมตร
ข้อ 7. ถ้าใช้สารละลายต่อไปนี้มีความเข้มข้นและปริมาตรเท่ากัน เมื่อผสมกันคู่ใดได้สารละลายบัฟเฟอร์ที่มี pH > 7
ตอบลบ• ตัวเลือกที่ 1 : NaOH และ HCOOH
• ตัวเลือกที่ 2 : NH3 และ NH4Cl
• ตัวเลือกที่ 3 : Mg(OH)2 และ HNO3
• ตัวเลือกที่ 4 : CH3COONa และ CH3COOH
ตอบข้อที่ 2
ข้อ 2 NH3/NH4Cl เป็นสารละลายบัฟเฟอร์ที่มี pH > 7
ข้อ 4 CH3COOH/CH3COONa เป็นสารละลายบัฟเฟอร์ที่มี pH < 7
ข้อ 1 NaOH + HCOOH → HCOONa + H2O
ใช้หมดทั้งคู่ ไม่ใช่สารละลายบัฟเฟอร์
ข้อ 3 Mg(OH)2 + 2HNO3 → Mg(NO3)2 + 2H2O
ใช้หมดทั้งคู่ ไม่ใช่สารละลายบัฟเฟอร์
ข้อ 8.สารละลาย HCl เข้มข้น 0.250 mol dm-3 ปริมาตร 20 cm3 ทำปฏิกิริยากับสารละลาย NaOH เข้มข้น 0.200 mol dm-3 ปริมาตร 30 cm3 เมื่อเกิดปฏิกิริยาอย่างสมบูรณ์แล้วสารละลายที่ได้จะมี pH อยู่ในช่วงใด
• ตัวเลือกที่ 1 :ตัวเลือกที่ 2 : 7
• ตัวเลือกที่ 3 : 9 - 10
• ตัวเลือกที่ 4 : 11 - 12
ตอบข้อที่ 4
ในสารละลายผสม 50 cm3 มีจำนวนโมล NaOH เหลือ = [0.2(30) - 0.25(20)]/1000 = 1/1000 mol
ในสารละลายผสมจึงมี NaOH เข้มข้น = (1/1000)(1000/50) = 2×10-2 mol/dm3
ดังนั้น ในสารละลายผสมมี [OH-] = 2×10-2 mol/dm3 ด้วย
pOH = - log[OH-]
= -log 2×10-2
= 2 - log 2
= 1.7
pH = 12.3
ข้อ 9. ถ้า X เป็นอะตอมของ S, Se และ Te ซึ่งเป็นธาตุในหมู่เดียวกัน เมื่อสารประกอบ H2X ละลายน้ำจะแตกตัวดังนี้
H2S + H2O ⇌ H3O+ + HS- pK1 = 7.04
H2Se + H2O ⇌ H3O+ +HSe- pK1 = 4.0
H2Te + H2O ⇌ H3O+ + HTe- pK1 = 3.0
พิจารณา X = S, Se และ Te ตามลำดับ ข้อสรุปใดถูก
• ตัวเลือกที่ 1 : ความเป็นกรดของ H2X ลดลงในขณะที่พลังไอออไนเซชันลำดับที่ 1 ของ X ลดลง
• ตัวเลือกที่ 2 : ความเป็นกรดของ H2X เพิ่มขึ้นในขณะที่พลังไอออไนเซชันลำดับที่ 1 ของ X ลดลง
• ตัวเลือกที่ 3 : ความเป็นกรดของ H2X เพิ่มขึ้นในขณะที่ความเป็นโลหะของ X ลดลง
• ตัวเลือกที่ 4 : ความเป็นกรดของ H2X ลดลงในขณะที่ความเป็นโลหะของ X เพิ่มขึ้น
ตอบข้อที่ 2
pKa ∝ 1/Ka ∝ 1/ความแรงกรด
pKa : H2S > H2Se > H2Te ขนาดอะตอม : S < Se < Te
ความแรงกรด : H2S < H2Se < H2Te IE1 : S > Se > Te
ข้อ 10.กำหนดธาตุ 14X 17Y และ 19Z นำธาตุ Y ทำปฏิกิริยากับ Z ได้สาร A ซึ่งเป็นของแข็ง และธาตุ X ทำปฏิกิริยากับ Y ได้สาร B ซึ่งเป็นของเหลว นำสาร A และ B ไปหาจุดเดือด ทดสอบการนำไฟฟ้า การละลายในน้ำ และความเป็นกรด-เบส ข้อใดสอดคล้องกับสมบัติของ A และ B มากที่สุด
• ตัวเลือกที่ 1 : สาร A จุดเดือดสูง, ไม่นำไฟฟ้า, ละลายน้ำ สารละลายเป็นกลาง
สาร B จุดเดือดต่ำ, ไม่นำไฟฟ้า, เกิดปฏิกิริยา สารละลายเป็นกรด
• ตัวเลือกที่ 2 : สาร A จุดเดือดสูง, นำไฟฟ้า, ละลายน้ำ สารละลายเป็นกลาง
สาร B จุดเดือดสูง, ไม่นำไฟฟ้า, ไม่ละลายน้ำ
• ตัวเลือกที่ 3 : สาร A จุดเดือดต่ำ, ไม่นำไฟฟ้า, ละลายน้ำ สารละลายเป็นกรด
สาร B จุดเดือดสูง, ไม่นำไฟฟ้า, ละลายน้ำ สารละลายเป็นกรด
• ตัวเลือกที่ 4 : สาร A จุดเดือดสูง, นำไฟฟ้า, ละลายน้ำ สารละลายเป็นกลาง
สาร B จุดเดือดต่ำ, ไม่นำไฟฟ้า, เกิดปฏิกิริยา สารละลายเป็นกลาง
ตอบข้อที่ 1.
14X ⇒ Si
17Y ⇒ Cl
19Z ⇒ K
สารประกอบ A ⇒ ZY หรือ KCl เป็นของแข็ง มีจุดเลือดสูง เป็นสารประกอบไอออนิก ไม่นำไฟฟ้า แต่เมื่อละลายน้ำหรือหลอมเหลวจะนำไฟฟ้า ละลายน้ำมีสมบัติเป็นกลาง
สารประกอบ B ⇒ XY4 หรือ SiCl4 เป็นของเหลว จัดเป็นโมเลกุลโคเวเลนต์ไม่มีขั้ว จุดเลือดต่ำ ไม่นำไฟฟ้า ทำปฏิกิริยากับน้ำให้สารละลายมีสมบัติเป็นกรด
SiCl4(ℓ) + 3H2O(ℓ) → H2SiO3(aq) + 4HCl(aq)
นางสาวผกามาศ ทาดาพันธ์ เลขที่ 35 ม.4/1
5.น้ำ15หยดมีปริมาตร1ลูกบาศก์เซนติเมตรและคสามหนาแน่นของน้ำ=1กรัม/ลูกบาศก์ เซนติเมตรน้ำจำนวน1หนดมีกี่โมล (H=1,O=16)
ตอบลบ1. 0.0015
2. 0.0025
3. 0.0037
4. 0.0042
ตอบข้อ 3
วิธีคิด น้ำ15หยดมีปริมาตร =1ลูกบาศก์ เซนติเมตร
น้ำ1หยดมีปริมาตร =เศษ1ส่วน15ลูกบาศก์เซนติเมตร
น้ำ1ลูกบาศก์เซนติเมตร มีมวล=1 g
น้ำ เศษ1ส่วน15ลูกบาศก์เซนติเมตร มีมวล=เศษ1ส่วน15g
=เศษ1ส่วน15÷18 =1÷(15×18)
= 0.0037 mol
ดังนั้นน้ำ1หยดมีจำนวนโมล=0.0037 mol
6.จากข้อ5.น้ำจำนวน1หยดมีกี่อะตอม
1. 1.6×10ยกกำลัง21
2. 6.68×10ยกกำลัง21
3. 1.2×10ยกกำลัง23
4. 3.2×10ยกกำลัง22
ตอบข้อ2
วิธีคิด น้ำH2O 1mol มี=3×6.02×10ยกกำลัง23อะตอม
น้ำ(H2O)0.0037 mol มี=3×6.02×10ยกกำลัง23×0.0037อะตอม
ดังนั้น น้ำ1หยดมีจำนวนอะตอม=6.68×10ยกกำลัง21อะตอม
ข้อ 11.สารประกอบคู่ใดสามารถทำปฏิกิริยาต่อไปนี้ได้
ตอบลบก. ฟอกสีสารละลายโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต
ข. จุดติดไฟได้
ค. ฟอกสีโบรมีนในคาร์บอนเดตระคลอไรด์ได้โดยสารละลายที่เกิดขึ้นไม่เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสสีน้ำเงิน
• ตัวเลือกที่ 1 : C4H8 และ C3H12
• ตัวเลือกที่ 2 : C4H6 และ C5H10
• ตัวเลือกที่ 3 : C6H6 และ C5H10
• ตัวเลือกที่ 4 : C5H12 และ C6H10
ตอบข้อที่ 2.
จากข้อมูลแสดงว่าไฮโดรคาร์บอนเป็นชนิดไม่อิ่มตัว อาจเป็นแอลดีนหรือแอลไคน์ก็ได้ ตรงกับข้อ 2
ข้อ 12. สารในข้อใดทำปฏิกิริยาและทดสอบกับรีเอเจนต์ต่างๆ ให้ผลเป็นบวกทั้งหมด
• ตัวเลือกที่ 1 : ปฏิกิริยาสพอนนิฟิเดชัน : น้ำมันปลา
สารละลาย I2 : แป้งสาลี
สารละลาย CuSO4 ในเบส : ไข่ขาว
สารละลายเบเนดิกต์ : น้ำผึ้ง
• ตัวเลือกที่ 2 : ปฏิกิริยาสพอนนิฟิเดชัน : น้ำมันปาล์ม
สารละลาย I2 : แป้งข้าวเจ้า
สารละลาย CuSO4 ในเบส : น้ำเต้าหู้
สารละลายเบเนดิกต์ : น้ำอ้อย
• ตัวเลือกที่ 3 : ปฏิกิริยาสพอนนิฟิเดชัน : กะทิ
สารละลาย I2 : มันสำปะหลัง
สารละลาย CuSO4 ในเบส : นมถั่วเหลือง
สารละลายเบเนดิกต์ : น้ำตาลทราย
• ตัวเลือกที่ 4 : ปฏิกิริยาสพอนนิฟิเดชัน : น้ำมันพาราฟิน
สารละลาย I2 : ผงบุก
สารละลาย CuSO4 ในเบส :เจลลาติน
สารละลายเบเนดิกต์ : กลูโคส
ตอบข้อที่ 2.
ข้อ 3 ผิด น้ำตาลทรายไม่ได้ให้ผลบวก (เห็นตะกอนสีแดงอิฐ) เมื่อทำปฏิกิริยากับสารละลายเบเนติกต์
ข้อ 4 ผิด น้ำมันพาราฟิน (เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอน) ไม่ทำปฏิกิริยากับ NaOH เมื่อเกิดปฏิกิริยาพอนนิพิเคชัน
ข้อ 1 และ 2 เป็นคำตอบที่ต้องเลือก ในที่นี้เลือกข้อ 2 นิยมใช้น้ำมันปาล์มมาทำสบู่มากกว่าน้ำมันปลา
ข้อ 13. สาร A ละลายน้ำได้ดี เมื่อทำปฏิกิริยากับโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตเกิดฟองแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ในขณะที่สาร B ไม่ทำปฏิกิริยากับโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต แต่ทำปฏิกิริยากับโลหะโซเดียมเกิดฟองแก๊ส เมื่อให้ A ทำปฏิกิริยากับ B เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่คือ C พร้อมกับการสูญเสียน้ำ 1 โมเลกุล ข้อใดผิด
• ตัวเลือกที่ 1 : สูตรโครงสร้างของ A และ B ที่เป็นไปได้คือ CH3CH2CO2H และ (CH3)2CHOH ตามลำดับ
• ตัวเลือกที่ 2 : ผลิตภัณฑ์ C ละลายน้ำได้ดี
• ตัวเลือกที่ 3 : C ไม่ทำปฏิกิริยาทั้งกับโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตและโลหะโซเดียม
• ตัวเลือกที่ 4 : เมื่อนำ C ไปทำปฏิกิริยากับสารละลายกรดจะเกิดปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสกลับมาเป็น A และ B
ตอบข้อที่ 2.
จากข้อมูลที่ให้มาแสดงว่า
สาร A เป็นกรดอินทรีย์ R – COOH
สาร B เป็นแอลกอฮออล์ R – OH
สาร C เป็นเอสเทอร์ R – COOR
ปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชัน
R – COOH + R – OH ⇌ R – COOR + H2O
(A) (B) (C)
ปฏิกิริยาไฮโดรลีซิส
H2SO4
R – COOR + H2O ⇌ R – COOH + R – OH
หมู่ฟังก์ชัน – COOH ทำปฏิกิริยากับ Na และ NaHCO3
– OH ทำปฏิกิริยากับ Na
– COOR ไม่ทำปฏิกิริยาทั้ง Na และ NaHCO3
ข้อ 1, 3 และ 4 ถูกต้อง ข้อ 2 ผิด
เอสเทอร์ส่วนใหญ่เป็นของเหลวไม่มีสี ไม่ค่อยละลายน้ำและเบากว่าน้ำ
ข้อที่ 14/20
คำถาม :
ข้อ 14. พิจารณากรดไขมันต่อไปนี้
ก. CH3(CH2)3CH=CH-(CH2)7COOH
ข. CH3(CH2)16COOH
ค. CH3(CH2)7CH=CH-(CH2)7COOH
ง. CH3(CH2)4CH=CHCH2-CH=CH-(CH2)7COOH
กรดไขมันในข้อใดที่รวมกับ glycerol แล้วให้ไขมันที่มีสถานะเป็นของเหลว (น้ำมัน) ที่อุณหภูมิห้อง
• ตัวเลือกที่ 1 : ข
• ตัวเลือกที่ 2 : ก ค เท่านั้น
• ตัวเลือกที่ 3 : ง เท่านั้น
• ตัวเลือกที่ 4 : ก ค และ ง
ตอบข้อที่ 4.
ไขมันที่มีสถานะเป็นของเหลว (น้ำมัน) ณ อุณหภูมิห้องจะประกอบด้วยกรดไขมันชนิดไม่อิ่มตัว (ก ค และ ง) มากกว่ากรดไขมันชนิดอิ่มตัว
ข้อ 15.ตัวอย่างของพอลิเมอร์ในข้อใดถูกทั้งหมด
• ตัวเลือกที่ 1 : โคพอลิเมอร์ : เอนไซม์
ฮอมอพอลิเมอร์ : ไนลอน
พอลิเมอร์ธรรมชาติ : ไหม
• ตัวเลือกที่ 2 : โคพอลิเมอร์ : เจลลาติน
ฮอมอพอลิเมอร์ : พีวีซี
พอลิเมอร์ธรรมชาติ : บุก
• ตัวเลือกที่ 3 : โคพอลิเมอร์ : สำลี
ฮอมอพอลิเมอร์ : พอลิไอโซพรีน
พอลิเมอร์ธรรมชาติ : นุ่น
• ตัวเลือกที่ 4 : โคพอลิเมอร์ : ยางพารา
ฮอมอพอลิเมอร์ : พอลิเอทิลีน
พอลิเมอร์ธรรมชาติ : ฝ้าย
ตอบข้อที่ 2
โคพอลิเมอร์ ฮอมอพอลิเมอร์ พอลิเมอร์ธรรมชาติ
เอนไซม์
เจลลาติน
ไนลอน พีวีซี
พอลิเอทิลีน
พอลิไอโซพรีน
(ยางพารา) สำลี
ไหม
บุก
นุ่น
ฝ้าย
นางสาวผกามาศ ทาดาพันธ์ เลขที่ 35 ม.4/1
5.น้ำ15หยดมีปริมาตร1ลูกบาศก์เซนติเมตรและคสามหนาแน่นของน้ำ=1กรัม/ลูกบาศก์ เซนติเมตรน้ำจำนวน1หนดมีกี่โมล (H=1,O=16)
ตอบลบ1. 0.0015
2. 0.0025
3. 0.0037
4. 0.0042
ตอบข้อ 3
วิธีคิด น้ำ15หยดมีปริมาตร =1ลูกบาศก์ เซนติเมตร
น้ำ1หยดมีปริมาตร =เศษ1ส่วน15ลูกบาศก์เซนติเมตร
น้ำ1ลูกบาศก์เซนติเมตร มีมวล=1 g
น้ำ เศษ1ส่วน15ลูกบาศก์เซนติเมตร มีมวล=เศษ1ส่วน15g
=เศษ1ส่วน15÷18 =1÷(15×18)
= 0.0037 mol
ดังนั้นน้ำ1หยดมีจำนวนโมล=0.0037 mol
6.จากข้อ5.น้ำจำนวน1หยดมีกี่อะตอม
1. 1.6×10ยกกำลัง21
2. 6.68×10ยกกำลัง21
3. 1.2×10ยกกำลัง23
4. 3.2×10ยกกำลัง22
ตอบข้อ2
วิธีคิด น้ำH2O 1mol มี=3×6.02×10ยกกำลัง23อะตอม
น้ำ(H2O)0.0037 mol มี=3×6.02×10ยกกำลัง23×0.0037อะตอม
ดังนั้น น้ำ1หยดมีจำนวนอะตอม=6.68×10ยกกำลัง21อะตอม
ข้อ 16. สารในข้อใดต่อไปนี้เป็นองค์ประกอบในน้ำมันเบนซินที่ผสมสารกันกระตุก (antiknock)
ตอบลบก. CH3(CH2)5CH3 เฮปเทน
ข. CH3(CH2)14CH3 ซีเทน
ค. ไอโซออกเทน
ง. MTBE
จ. (C10H7)CH3 แอลฟาเมทิลแนฟทาลีน
• ตัวเลือกที่ 1 : ก ค และ จ
• ตัวเลือกที่ 2 : ก ค และ จ
• ตัวเลือกที่ 3 : ข ค และ จ
• ตัวเลือกที่ 4 : ข ง และ จ
ตอบข้อที่ 2.
องค์ประกอบในน้ำมันเบนซินที่ผสมสารกันกระตุก ได้แก่ เฮปเทน ไอโซออกเทน และ MTBE
องค์ประกอบในน้ำมันดีเซล ได้แก่ ซีเทนและแอลฟาเมทิตแนฟทาลีน
ข้อ 17. (Ent 49) การคัดแยกขยะออกเป็นประเภทต่าง ๆ จะท าให้สะดวกในการก าจัด ถ้าพบสัญลักษณ์ ที่ถังขยะ ขยะในข้อใดควรทิ้งลงไปในถังใบนี้
1. พรม เต้าเสียบไฟฟ้า แบตเตอรี่
2. ใบไม้ กระดาษ เศษผ้า
3. ถ่านไฟฉาย เศษแก้ว กาว
4. ขวดน้ าพลาสติก กระดาษ แก้ว
ตอบข้อที่ 4.
เนื่องจาก ข้อ 1 ผิด เนื่องจาก เต้าเสียบไฟฟ้าเป็นพลาสติกเทอร์มอเซตไม่สามารถรีไซเคิลได้
ข้อ 2 ผิด เนื่องจาก ใบไม้ไม่จัดเป็นพอลิเมอร์ จึงไม่สามารถทิ้งลงในถังขยะนี้ได้
ข้อ 3 ผิด เนื่องจาก กาวเป็นพลาสติกเทอร์มอเซตไม่สามารถรีไซเคิลได้
ข้อ 18 (Ent 35) ผลของกระบวนการวัลคาไนเซชันของยางและยางบิวตะไดอีน คือ
ก. เกิดการเชื่อมโยงโมเลกุลของพอลิเมอร์ด้วยสะพานซัลไฟด์
ข. ช่วยท าให้ยางกลับสู่รูปร่างเดิมได้หลังจากได้รับแรงกดหรือแรงดึง
ค. ท าให้ยางทั้งก้อนเชื่อมต่อกันเป็นโมเลกุลเดียว
ง. ท าให้ยางธรรมชาติและยางบิวตะไดอีนมีสมบัติยืดหยุ่นได้ดีเหมือนกัน
ตอบข้อที่ 1.
1. ก ข และ ค เท่านั้น 2. ก ค และ ง เท่านั้น 3. ก ข และ ง เท่านั้น 4. ข ค และ ง เท่านั้น
เนื่องจาก กระบวนการวัลคาไนเซชัน (Vulcanization) เป็นกระบวนการที่ช่วยปรับปรุงคุณภาพของ ยางจากการเติมก ามะถัน ท าให้เกิดพันธะโคเวเลนต์ “disulfide linkage” เชื่อมระหว่าง พอลิเมอร์ ท าให้ยางเชื่อมต่อเป็นโมเลกุลเดียวกัน ส่งผลให้ยางมีความยืดหยุ่นสูง แต่ไม่ได้ท า ให้ยางที่ได้มีคุณสมบัติยืดหยุ่นได้ดีเหมือนยางธรรมชาติ
ข้อ 19.(PAT3 ก.ค. 52) สารละลาย NaOH เข้มข้น 2 โมล/ลิตร ปริมาตร 200 มิลลิลิตร เมื่อน้ามาเติมน ้า กลั่นจนมีปริมาตรเป็น 500 มิลลิลิตร จะท้าให้สารละลายใหม่ที่ได้รับมีความเข้มข้นเท่าใด (Na = 23, H = 1, O = 16)
1. 0.2 โมล/ลิตร 2. 0.4 โมล/ลิตร 3. 0.8 โมล/ลิตร 4. 1.0 โมล/ลิตร
Soln จาก C 1 V 1 = C2 V2
จะได้ 2 M x200 mL = C2 x500 mL
ดังนั น C2= 0.8 M #
นางสาวผกามาศ ทาดาพันธ์ เลขที่35 ม.4/1
ลบเพิ่มเติมข้อ 20 ที่ยังไม่ได้ส่งค้ะ
ลบข้อ 13 น้าทองเหลืองซึ่งเป็นสารประกอบระหว่าง Cu กับ Zn 15 กรัม มาท้าปฏิกิริยากับ HNO3 3.0 mol/dm3 ถ้าต้องใช้ HNO3 303 cm3 จงหาร้อยละโดยมวลของ Cu และ Zn ในทองเหลือง (Cu = 63.5, Zn = 65)
Soln สมการเคมีของปฏิกิริยาดังกล่าวเป็นดังนี 3 2 3 2 2 Cu s 4HNO aq 2NO g Cu NO aq 2H O l 3 4 3 3 2 2 4Zn s 10HNO aq NH NO aq 4Zn NO aq 3H O l
ก้าหนดให้ ในทองเหลือง 15 กรัม ประกอบด้วย Cu a กรัม และ Zn 15-a กรัม จาก 3 2 3 2 2 Cu s 4HNO aq 2NO g Cu NO aq 2H O l
จะได้
3HNOmolag 63.5 g 4 ดังนั น
3HNO
4a
mol
63.5
จาก 3 4 3 3 2 2 4Zn s 10HNO aq NH NO aq 4Zn NO aq 3H O l
จะได้
3HNOmol15 a g 2x65 g 5 ดังนั น
3HNO
15 a
mol
26
จาก (1) และ (2);
3HNO
4a 15 a 3x303
mol
63.5 26 1000
จะได้ a 13.54
ดังนั น ร้อยละโดยมวลของ
13.54 Cu x100 90.25 1 % 5 ร้อยละโดยมวลของ Zn 100 90.25 9.75% #
1)ธาตุ A 2 อะตอม มวลเท่ากับ 1.824 x 10 –22 กรัม มวลอะตอมของ A มีค่าเท่าใด (กำหนดให้ 121 มวลของ C – 12 เท่ากับ 1.66x10 –24 กรัม )
ตอบลบตอบ 55
วิธีทำ ธาตุ A 2 อะตอม = 1.824 x 10–22 กรัม
ธาตุ A 1 อะตอม = 182410222.
× − = 9.12 x 10 –23 กรัม
ดังนั้น มวลอะตอม A =241066.1231012.9 −×−× =55
2)ไอโซโทปในธรรมชาติ คือ เปอร์เซ็นต์ในธรรมชาติมวล ไอโซโทปที่ 1 80 12
ไอโซโทปที่ 2 15 13
ไอโซโทปที่ 3 5 14
จงหามวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุX
ตอบ 12.25
วิธีทำ มวลอะตอมเฉลี่ย x =∑(% x
มวล)÷100
=(80×12)+(15×13)+(5×14)÷100
=960+195+70÷100
=1125÷100 =12.25
3.)มวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุออกซิเจนในธรรมชาติเท่ากับ
16.032 แสดงว่าไอโซโทปใดของออกซิดจนที่มีมากที่สุดในธรรมชาติ
1.16O 2.17O 3.18O 4.เท่ากัน
ตอบ 1
เหตุผล เพราะมวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุจะมีค่าใกล้เคียงกับมวลที่มีเปอร์เซ็นต์ในธรรมชาติ
4.)เมื่อใช้ NaOH 20กรัม เตรียมสารละลายให้มีความเข้มข้น 30% โดยมวล/ปริมาตร จะได้สารละลายกี่ cm3
ตอบ 66.67 cm3
วิธีทำ จากโจทย์มวลNaOH = 20 กรัม
ความเข้มข้นโดยมวล /ปริมาตร = 30%
จะได้% โดยมวล/ปริมาตร
= มวลตัวถูกละลาย(กรัม)÷ปริมาตรสารละลาย(cm3)×100
30 = 20÷ปริมาตรx 100
∴ดังนั้น ปริมาตรสารละลาย = 66.67 cm3
5)โพแทสเซียมแมงกาเนต
( K 2MnO4)จำนวน 59.1 กรัม
ละลายในสารละลาย 100 cm3
สารละลายนี้มีความเข้มข้กี่mol / dm3( K=39 , Mn=55 , O=16 )
ตอบ 3 โมล/ลิตร
. วิธีทำ จากโจทย์ มวลโมเลกุล (M) = K 2MnO4 = 2(39) + 55 + 4(16) = 197g = 59.1 กรัม , V = 100 cm3 , C = ?
จากสูตร g÷M = CV÷1000
59.1÷197 = C×100÷1000
C = 3 โมล/ลิตร
6)เมื่อผ่านแก๊สไฮโดรเจนคลอไรด์(HCl) 5.6 dm3 ที่ STP ลงในน้ำกลั่นเป็นสารละลาย300cm3 ถ้าได้แก๊สไฮโดรเจนคลอไรด์ละลายทั้งหมดจะได้สารละลายเข้มข้นกี่โมล/ลิตร
ตอบ 0.83 โมล/ลิตร
วิธีทำ จากโจทย์ V แก๊ส = 5.6 dm3 , Vสารละลาย = 300 cm3 mol/l , C = ?
จากสูตร แก๊ส÷22.4
V =1000CV 22.45.6 =1000300xC C = 0.83 โมล/ลิตร
7)มี NaOH 1 mol/dm3 อยู่500 cm3 แบ่งมา100cm3ทำให้เจือจางเป็น 1 ลิตร สารละลายนี้เข้มข้นเท่าใด
ตอบ 0.1โมล/ลิตร
วิธีทำ
จากโจทย์
C1= 1 mol/ dm3
V1 = 100 cm3C2 = ?
V2= 1000 cm3
จะได้
C1V1= C2 V2
1 x 100 = C
2 x 1000
C2 = 0.1 mol/dm3
8)สมสาระลายกรด HCl ขวดที่1 ซึ่งมีความเข้มข้น 1 mol/ dm3 จำนวน 300 cm3 กับ HCl ขวดที่2 ซึ่งมีความเข้มข้น 2 mol/ dm3 จำนวน 200 cm3 แล้วเติมน้ำลงไปอีก 500cm3ถามว่าสารละลายผสมที่ได้จะมีความเข้มข้นกี่mol/ dm3
ตอบ 0.7 mol /dm3
วิธีทำ จากโจทย์
C1 = 1 mol/ dm3
V1 = 300 cm3C
2 = 2 mol/ dm3
V2 = 200 cm3V
H2O = 500 cm3C
รวม = ?
จะได้
V รวม = 300 + 200 + 500 = 1000 cm3
จากสูตร
C รวม
V รวม
= C1 V1+ C2 V2
Cรวม (1000) = 1(300) + 2(200)C
รวม =1000700 = 0.7 mol/ dm3
9)เมื่อผสม NaCl 2 mol/dm3 จำนวน 10 cm3 กับ 4 mol/dm3 จำนวน 100 cm3 แล้วเติม NaCl อีก 175.5 gแล้วเติมน้ำจนมีปริมาตร 500 cm3 จงหาความเข้มข้นสารผสม
ตอบ 6.84 mol /dm3
วิธีทำ
จากโจทย์
C1 = 2 mol/ dm3
V1 = 10 cm3C
2 = 4 mol/dm3
V2 = 100 cm3g3 = 175.5 กรัม
Mg =10003V3C C3
V3 = 1000 x mg
C รวม = ? V
รวม = 500 cm3
จากสูตร
Cรวม
Vรวม = C1 V1+ C2 V2+ C3 V3
C รวม
(500) = 2(10) + 4(100) + 100 xmg
C รวม =50058.5175.5x10040020 ++
C รวม = 6.84mol/ dm3
10)กรดเกลือเข้มข้นมีปริมาณ HCl = 36.5% โดยน้ำหนักและมีความหนาแน่นเท่ากับ 1.18 g/cm3 ถ้าต้องการเตรียมสารละลาย HCl ที่มีความเข้มข้นเท่ากับ 0.236 mol/dm3 จะต้องนำกรดเกลือเข้มข้นกี่ cm3 มาเติมน้ำกลั่นจนมีปริมาตรทั้งหมดเท่ากับ100.0 cm3
ตอบ 2 cm3
วิธีทำ
โจทย์บอก
ความเข้มข้น HCl แบบ %โดยมวล = 36.5
มวลโมเลกุล HCl ( m ) = 35.5 + 1 = 36.5 , D = 1.18 g/cm3
ขั้นแรก ต้องทำความเข้มข้น HCl 36.5% ให้เป็นโมล/ลิตร ก่อน
จาก
C = mD)10(%
= 36.5.18)36.5(10)(1
= 11.8 mol / dm
3 ขั้น 2 จาก
C1V1 = C2 V2 11.8 V1 = 0.236 (100 cm3)
V1 = 2 cm3
นั่นคือต้องใช้สารละลาย HCl 2 cm3
11)ถ้านำ C 6 กรัม รวมกับ H 1กรัม และ S 8 กรัม จะได้สารประกอบชนิด หนึ่งที่มีมวลโมเลกุล 180 กรัม สูตรโมเลกุลของสารประกอบนี้คือข้อใด
ตอบลบ1. C6H12S3 2. C2H4S 3. C3 H6 S3 4. CH2 S
ตอบ ข้อ 1.
วิธีทำ
ตอน 1
อัตราส่วนโดยมวล C : H : S = 6 : 1 : 8
อัตราส่วนโดยอะตอม C : H : S =126:11:328 = 0.5 : 1 : 0.25
อัตราส่วนโดยอะตอม C : H : S = 2 : 4 : 1
ดังนั้น
สูตรอย่างง่าย = C2H4S
ต่อไป
(มวลจากสูตรอย่างง่าย) n= มวลโมเลกุล
(C2H4S)n = 18060 n = 180
n = 3
แสดงว่าสูตรโมเลกุล = (C2H4S)n = (C2H4S)3 = C6H12S3
12)สารอย่างหนึ่งประกอบด้วยธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน และคลอรีน จากการทดลองเมื่อ นำสารนี้มา 125 กรัม
วิเคราะห์พบว่ามี C อยู่48 กรัม และไฮโดรเจน 6 กรัม
สูตร เอมพิริคัลของสารนี้ เป็นอย่างไร
(กำหนดให้ : C = 12 , H = 1 , Cl = 35.5 )1. C2H3Cl 2. C8HCl123. C4H3Cl2 4. C4H6Cl
ตอบข้อ 1.
วิธีทำ
มวลสารทั้งหมด
= 125 กรัม ,มวล C = 48 กรัม ,มวล = 6 กรัม
ดังนั้า
มวลออกซิเจน O = 125 – 48 – 6 = 71
อัตราส่วน C : H : Cl = 48 : 6 : 71
โดยมวล =35.571 : 16 : 1248
โดยอะตอม = 4 : 6 : 2
C : H : Cl = 2 : 3 : 1
สูตรเอมพิริคัลคือ C2H3Cl
13)จงหามวลร้อยละของธาตุ O ใน CuSO4 . 5H2O (Cu = 63.5 , S = 32)
ตอบ 57.72%
วิธีทำ
มวลโมเลกุล
CuSO4 . 5H2O = 63.5 + 32 + 4(16) + 5[2(1) + 16]= 249.5
จะได้มวล O = มวลทั้งหมด O มวล
x 100=249.5144
x 100 = 57.72
14)ในการเผา KClO3 จะเกิดปฎิกิริยาดังนี้ 2KClO3 → 2KCl + 3O2 (K = 39.1 , Cl = 35.5 ,O = 16)
ถ้าเผา KClO3 จำนวน 12.26 กรัม จะได้แก๊ส O2 กี่ลิตรที่ STP
ตอบ 3.36 ลิตร
วิธีทำ
จากสมการ 2KClO3 → 2KCl + 3O2
จะเห็นได้ว่า 323O โมล 3KClOโมล = และเนื่องจาก 3โมล
KClO3= 2โมล O2 3 (mg )
KClO3 = 2(22.4 แก สV)
O2 3 (122.612.26 ) = 2(22.4 แก๊ส VO2)
∴ V แก๊ส O2= 3.36 ลิตร
15)ปฏิกิริยาระหว่าง X กับ Y เป็นไปตามสมการ 2X + 3Y→ 2A + 3B ถ้าใช้สารละลาย X 100 cm3 ซึ่งเตรียมจากสาร X 0.20 กรัม ละลายน้ำจนเป็นสารละลาย 100 cm3 จะทำปฏิกิริยาพอดีกับสารละลาย Y ที่มีความเข้มข้น 0.10 mol/dm3 จำนวน 20 cm3
จงหามวลโมเลกลของสาร X
ตอบ 150
วิธีทำ
จาก
2 X + 3Y → 2 A + 3 B
จะเห็นว่า
32 Yโมล Xโมล = และเนื่องจาก3โมล
X = 2 โมล
Y3 (mg ) = 2 (1000CV)10002(0.1)20m0.23
m = 150
16)สมการแสดงปฏิกิริยาการเผาไหม้ของสาร A อย่างสมบูรณ์ เขียนได้ดังนี้
2 A + 17 O2 → 12 CO2 + 10 H2O สูตรโมเลกุลของสาร A ควรเป็นแบบใด
1. C4H6 2. C4H10 3. C6H10 4. C6H12
ตอบ 3
วิธีทำ
จากสมการ
2A + 17O2 → 12CO2 + 10H2O
จะได้ว่า
2(CxHy)+ 10H2O → 12CO2 + 10H2O
จาก
12CO2 + 10H2O
มีC = 12ตัว
H = 20ตัว
∴ 2(C6H10)+ 17O2 → 12CO2 + 10H2O
17)การแยกตกตะกอนของเงินออกจากสารละลายซิลเวอร์ไนเตรตทำได้โดยการเติมกรด เกลือลงไป
ซึ่งจะทำให้เกิดปฏิกิริยาได้ตะกอนของ ซิลเวอร์คลอไรด์
ดังนั้นคือ AgNO3(aq) + HCl(aq) → AgCl(s) + HNO3(aq)
หากต้องการใช้สารละลายกรดเกลือที่มีความเข้มข้นเท่ากั ับ 37%
โดยน้ำหนัก และมีความหนาแน่นเท่ากับ 1.017 กรัมต่อลูกกบาศก์เซนติเมตร ในการตกตะกอนของซิลเวอร์คลอไรด์จากสารละลายซิลเวอร์ไนเตรตความเข้มข้น 0.50 โมลต่อลิตร
ปริมาตร 25.00ลูกบาศก์เซนติเมตรอย่างสมบูรณ์ จะต้องใช้สารละลายกรดเกลืออย่างน้อยกี่ลูกบาศก์เซนติเมตร
ตอบ 1.21 cm3
วิธีทำ
ตอน 1
โจทย์บอก
% HCl = 37 , DHCl= 1.017 g / cm3 หาความเข้มข้นเป็นโมลต่อลิตร โดย
จาก
C = mD)10(%
= 5.36)017.1)(10(37
= 10.3 mol / dm3
ตอน2
จากปฏิกิริยา
Ag NO3+ HCl → AgCl + HNO3
จะได้ว่า
โมล AgNO3=
โมล HCl3AgNO1000cv = HCl1000cv (0.5) (25) = 10.3 V
HCl V HCl = 1.21 cm3
นั้นคือปริมาตร HCl เท่ากับ 1.21 ลูกบาศก์เซนติเมตร
18)สารประกอบอย่างหนึ่งมีสูตรเป็น X2CO3. 10 H2O จากการทดลองพบว่ามีมวล น าผลกทั้งหมด 60% มวลอะตอมของ Xเท่ากับเท่าใด (C=12 , O=16 , H=1)
ตอบ 30
วิธีทำ
สมมติX
มีมวลอะตอม = A
ดังนั้น
X2CO3. 10H2O
มีมวลโมเลกุล
= 2A + 12 + 48 + 180 = 2A + 240
และในโมเลกุลจะมีน้ำอยู่
= 10H2O = 10 (18) = 180
ทีนี้โจทย์บอก
X2CO3. 10H2O มี
H2O = 60%
19)แก๊สโพรเพน (C3H8)จำนวน 22 กรัม ที่STPจะมีปริมาตรกี่ลิตร
ตอบ 11.2
วิธีทำ
มวลโมเลกุล (M) = 3(12) + 8(1) = 36 + 8 = 44
มวลสารที่มี (g) = 22 กรัม
ปริมาตรแก๊ส (Vแก๊ส) = ?
จาก
mg = 22.4 แก๊ส
V V แก๊ส= mg x 22.4= 4422x 22.4 = 11.2
20)แก๊สชนิดหนึ่งปริมาตร 67.2 ลิตร ที่STP จะมีกี่โมเลกุล
ตอบ 1.806 x 1024
วิธีทำ
(Vแก๊ส) = 67.2 dm3, N = ?
จาก
2310x6.02 N = 22.4V
N = 22.467.2x 6.02 x 1023 N = 1.806 x 1024โมเลกุล
7.ปริมาตรของก๊าซอีเทน (C2H6) จำนวนหนึ่งที่อุณหภูมิห้องมีมวล =20g จงคำนวณหามวลของก๊าซโพรพีน (C3H6) ที่มีปริมาตรเท่ากับก๊าซอีเทนที่อุณหภูมิห้อง
ตอบลบ1. 20
2. 28
3. 32
4. 48
ตอบข้อ 2.
วิธีคิด ก๊าซที่มีปริมาณเท่ากันที่อุณหภูมิและความดันเดียวกันจะมีจำนวนโมลเท่ากัน C2H6มีมวลโมเลกุล = 12×2+1×6 =30
C2H6 20g =20ส่วน30mol ดังนั้นจึงมีC3H6 =20ส่วน30mol ด้วย
และมีมวล 20ส่วน30×(12×3+1×6)=28g
8.สารประกอบชนิดหนึ่งมีสูตร A2CO3 10H2O มีน้ำผลึกเป็นองค์ประกอบร้อยละ63โดยมวล ธาตAมีมวลอะตอมเท่าใด (H=1,O=16,C=12)
1. 85
2. 39
3. 23
4. 7
ตอบข้อ 3.
วิธีคิด A2CO3 10H2O มีมวลโมเลกุล= 2A+12+48+180
=240+2A
A2CO3 10H2O 240+2AกรัมมีH2O =(180×100)÷(240+2A)
ดังนั้น (180×100)÷(240+2A)=63
A=22.86
ธาตุ Aมีมวลอะตอม =23
นางสาวสุภาพร มากยอด เลขที่24 ม.4/1
น.ส.พจมาน รักธรรม เลข38
ตอบลบ1) สารละลายชนิดหนึ่งประกอบด้วย C2H5OH 92 กรัม และน ้า 144 กรัม จงค้านวณหาความเข้มข้นใน
หน่วย
(C2H5OH มีความหนาแน่น 0.79 g/cm
3
และน ้ามีความหนาแน่น 1 g/cm
3
)
ร้อยละโดยมวล จาก%=ปริมาณของสรตัวถูกละลาย x100
----------------------------
ปริมาณของสารละลายทั้งหมด
จะได้ %โดยมวล=92 x100
------
92+144
ตอบ 38.98 %
น.ส.พจมาน รักธรรม เลข38
ตอบลบ2. (PAT3 มี.ค. 52) การบ้าบัดน ้าเสียที่มี Ca(HCO3
)2 1620 ppm และ Mg(HCO3
)2 1460 ppm
ปริมาตร 100 ลิตร ควรใช้ปูนขาวกี่กรัม
(Ca = 40, H = 1, C = 12, O = 16, Mg = 24)
ส้าหรับ Carbonate hardness ใช้ปูนขาว (Lime, Ca(OH)2
) ดังสมการ 1-2
ca(HCO3)2+Ca(OH)2-------->2CaCO3+2H2O
Mg(HCO3)2+Ca(OH)2------->MgCO3+CaCO3+2H2O
MgCO3 ไม่ตกตะกอนจะเกิดปฎิกิริยาปูนขาวต่อไป ดังสมการ 3
MgCO3+Ca(OH)2---------->CaCO3+Mg(OH)2
ตอบใช้ปูนขาว 222กรัม
น.ส.พจมาน รักธรรม เลข38
ตอบลบ3. (PAT3 ก.ค. 52) สารละลาย NaOH เข้มข้น 2 โมล/ลิตร ปริมาตร 200 มิลลิลิตร เมื่อน้ามาเติมน ้า
กลั่นจนมีปริมาตรเป็น 500 มิลลิลิตร จะท้าให้สารละลายใหม่ที่ได้รับมีความเข้มข้นเท่าใด
(Na = 23, H = 1, O = 16)
จาก C1V1=C2V2
จะได้2[M]x200[ml]=C2x500[ml]
ดังนั้นC2=0.8[m]
ตอบ 0.8โมล/ลิตร
4. (PAT3 มี.ค. 55) น้าหินอ่อนก้อนหนึ่งมวล 30 กรัม มาท้าปฏิกิริยากับสารละลาย HCl 5 M (โมลาร์)
ปริมาตร 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร จน CaCO3
ในหินอ่อนหมดพอดี จงหาว่าหินอ่อนก้อนนี มี CaCO3
อยู่ร้อยละเท่าใดโดยมวล (ก้าหนดให้ใช้ มวลโมเลกุลของ Ca = 40, C = 12, O = 16)
จากโจทย์สามารถเขียนสมการได้ดังนี้ CaCO3+2HCl-------->CaCl2+H2CO3
จะได้มวลCaCO3=5x100
-------- -------
100 2x1000
ดังนั้นจะได้มวลของหินปูนในหินอ่อน=25g.
จาก%โดยมวลของสารA=%โดยมวลของสารAในสารประกอบนั้นๆ
----------------------------------------
มวลของสารประกอบทั้งหมด
ดังนั้นในหินอ่อนก้อนนี้จะมีCaCO3= 25 x100
-------
30
=83.33%##
น.ส.พจมาน รักธรรม เลข38
ตอบลบ5. (PAT 3 มี.ค. 55) น้าสารโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) จ้านวน 12 กรัม มาละลายจนหมดในน ้ากลั่น
ปริมาตร 500 ลูกบาศก์เซนติเมตร สารละลายที่ได้นี จะมีไฮดรอกไซด์อิออน (OH)
เข้มข้นกี่โมลต่อ
ลิตร
(ก้าหนดมวลอะตอมของ Na = 23, O = 16, H = 1)
จากNaOH------->Naไอออนบวก+OHไอออนลบ
จะได้ว่าความเข้มข้นของOHมีค่าเท่ากับความเข้มข้นของNaOH
เนื่องจากความเข้มข้นของNaOH= (12) x1000=0.6
----- -----
40 1
-------
50
ดังนั้นสารละลายที่ได้นี้จะมีไฮดรอกไซด์ไอออน(OHเข้มข้น0.6โมล/ลิตร
6. (PAT 3 ต.ค. 55) สารละลายกรดฟอสฟอริก (H3PO4
) ปริมาตร 35 ลูกบาศก์เซนติเมตร มีความ
เข้มข้นร้อยละ 40 โดยมวล มีความหนาแน่น 0.21 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร หากเติมน ้ากลั่นจน
สารละลายกรดฟอสฟอริกมีปริมาตรเป็น 525 ลูกบาศก์เซนติเมตร จะได้สารละลายกรดมีความ
เข้มข้นกี่โมลต่อลิตร (ก้าหนดมวลอะตอม H = 1, P = 31 และ O = 16)
หาความเข้มข้นของH3PO4ได้จากM=%x10xD
---------
MW
จะได้ [H3PO4]=40x10x0.21 =6
------------- -----
98 7
จากC1V1=C2V2
จะได้6 x35 =C2x525
----
7
ดังนั้น C2=0.06m
น.ส.พจมานรักธรรม เลข38
ตอบลบ7. (PAT 3 มี.ค. 56) สารละลาย Ca(OH)2 มีความเข้มข้น 0.04 โมลต่อลิตร ปริมาณกี่ลูกบาศก์
เซนติเมตร จึงจะมีไฮดรอกไซด์ไอออน (OH)
เท่ากับสารละลายซึ่งได้จากการละลาย NaOH จ้านวน 4
กรัม ลงในน ้า 4 ลิตร
(ก้าหนดมวลอะตอม Na = 23, O = 16 และ H = 1)
จาก
2
Ca OH Ca 2OH
และ
NaOH Na OH
ังนั น ความเข้มข้นของ OHของ
Ca(OH)2 จะเท่ากับ
2x Ca OH
2
และความเข้มข้นของ OHของ
NaOH จะเท่ากับ
NaOH
จาก
mol OH 2
ของ NaOH mol OH ของ Ca OH
ังนั น
3
V 1.25 L 1,250 cm
น.ส.พจมานรักธรรม เลข38
ตอบลบ8. โลหะ A หนัก 0.56 g ท้าปฏิกิริยากับ HCl มากเกินพอ จะเกิด ACl2 และมีH2 448 cm3
ที่ STP
อยากทราบว่า โลหะ A 2 mol จะหนักกี่กรัม
(H = 1, Cl = 35.5)
จากโจทย์ สามารถเขียนสมการได้ดังนี
2 2 A 2HCl ACl H
เนื่องจาก HCl มากเกินพอ ดังนั น โลหะ A เป็นตัวก้าหนดปฏิกิริยา
จาก
2 2 A 2HCl ACl H
จะได้ 0.56
------
1xMW
=4.48
-------
1x22400
MW=28
ดังนั้นโลหะA2mol=2x28=56g.
9. ื่อน้า NaOH 0.1 mol/dm3
จ้านวน 500 cm3
และสารละลาย NaOH 0.2 mol/dm3
จ้านวน 750
cm
3
มาผสมกัน แล้วเติมน ้าอีก 350 cm3
แบ่งสารละลายใหม่ออกมา 25 cm3 แล้วระเหยให้น ้า
ออกไปจนหมด จะเหลือ NaOH อยู่กี่กรัม
(Na = 23, O = 16, H = 1)
หาความเข้มข้นรวมหลังผสม
จาก
รวม รวม 1 1 2 2
C V C V C V molx1000
จะได้
รวม
C 0.125 M
จาก มวล CV
------ = ------
MW 1000
จะได้มวล=0.125x25
-------------- x40
1000
=0.125g.
10. น้าเกลือ
4 2 ZSO nH O
หนัก 5 กรัม (ZSO4 = 165.25 g/mol) มาละลายน ้าจนหมด จากนั นเติม
BaCl2 ลงไปมากเกินพอ จะเกิดตะกอน BaSO4 หนัก 4 กรัม ค่า n มีค่าเท่าใด
(Ba = 137, S = 32, O = 16, H = 1, Cl = 35.5)
จากโจทย์สามารถเียนสมการได้ดังนี้ ZSO4+Bacl2---------->BaSO4+Zcl2
จะได้ 5 4
----------------------- = ------
1x165.25+18n 1x233
ดังนั้นจะได้ n ประมาณ 7
11. 2 ในปฏิกิริยาการเผาไหม้ของไพไรต์ (FeS2
) จะท้าให้เกิดแก๊ส SO2 และ Iron (III) oxide ถ้าโรงงานแห่ง
หนึ่งเผาถ่านหินหนัก 1.5 กิโลกรัม เมื่อถ่านหินสลายตัวหมดจะได้แก๊ส SO2 ปริมาตร 112 dm3
ที่
STP ถ่านหินนี มีไพไรต์อยู่ร้อยละเท่าใดโดยมวล
(Fe = 56, S = 32, O = 16)
จากโจทย์ สามารถเขียนสมการได้ดังนี
4FeS2+11O2----------->8SO2+2Fe2O3
จากมวล 112
------ = ----
4x120 8x22.4
จะได้มวล = 300g.
ดังนั้นถ่านหินนี้จะมีไพไนด์อยู่=300
-------- x100 =ร้แยละ 20
1500
น.ส. พจมานรักธรรม เลข38
ตอบลบ12. ธาตุA 2อะตอม มีมวล=1.824x10ยกกำลัง-22g. มวลอะตอมของAมีค่าเท่าใด
(กำหนดให้ 1 มวลของC-12 =1.66x10ยกกำลัง-24g.)
---
12
ธาตุA2อะตอม=1.824x10ยกกำลัง-22 g.
ธาตุA1อะตอม= 1.824x10ยกกำลัง22
------------------------- = 9.12x10ยกกกำลัง-23g.
2
ดังนั้น มวลอะตอมA =9.12x10ยกกำลัง-23
-----------------------
1.66x10ยกำลัง-24
= 55
13. ธาตุMมีมวลอะตอม70 และมีความหนาแน่นเท่ากับ5.02g./cm3 ปริมาณเฉลี่ยของธาตุนี้ 1อะตอมจะมีค่ากี่cm3
จากมวลอะตอมM =70amu =(70)(1.66x10ยกกำลัง-24)g.
ความหนาแน่น=5.02g./cm3
จากวคามหนาแน่น=มวล (70)(1.66x10ยกกำลัง-24)
------- = --------------------------------
ปริมาตร 5.02
= 2.31x10ยกกำลัง-23g./cm3
14. มวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุออกซิเจนในธรรมชาติเท่ากับ16.032 แสดงว่าไอโซโทปใดของออกซิเจนที่มีมากที่สุดในธรรมชาติ
ตอบ 16O เพราะมวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุจะมีค่าใกล้เคียงกับมวลที่มี%ในธรรมชาต
15. ข้อความใดที่ไม่ใช่เป็นสมบัติของก๊าซใดๆ ปริมาตร 22.4 dm3 ที่อุณหภูมิความดันมาตรฐาน
ตอบ.จำนวนโมล=6.02x10ยกกำลัง23โมล
เพราะก๊าซ22.4ลิตรที่STPมีเพียง1โมบเท่านั้นไม่ใช่6.02x10ยกกำลัง23โมล
16.แก๊สโพรเพน(C3H8)จำนวน22g. STPจะมีปริมาตรกี่ลิตร
โมลโมเลกุลM=3(12)+8(1)=36+8=44
มวลสารที่มี(g.)=22g. ปริมาตรแก๊ส(vแก๊ส)
จากg vแก๊ส
---- = ---------
m 22.4
vแก๊ส= g
----- x 22.4
m
=22
----- x 22.4 =11.2
44
17.แก๊สชนิดหนึ่งปริมาตร67.2 ลิตร ที่STPจะมีกี่โมเลกุล
(vแก๊ส)=67.2dm3 n
จาก n v
------------------- = ------
6.02x10ยกกำลัง23 22.4
n=67.2
------- x 6.02x10ยกกำลัง23
22.4
n=1.806x10ยกกำลัง24 โมเลกุล
18.แก๊วชนิดหนึ่งหนัก0.02g. มีปริมาตร400cm3 ที่STP แก๊สชนิดนี้มีมวลโมเลกุลเท่าไหร่
โจทย์กำหนดให้ g.=0.2g. vแก๊ส =400cm3 =0.4dm3
----------
1000
จากg. v
------- = ---
m 22.4
จะได้m = gx22.4
-----------
v
m=0.2x22.4 =11.2m
------------
0.4
19.ก๊าซชนิดหนึ่งมีปริมาณ448 cm3 ที่STP มีมวล0.60 g.
โจทย์บอก v แก๊ส=448cm3 =0.448ลิตร ;g 0.60g
จากg v
------ =-----
m 22.4
0.6 = 0.448 = 30
------ ----------
m 448x10ยกกำลัง-3
20.ถ้านักเรียนตักน้ำบริสุทธุ์มา2cm3น้ำนั้นจะมีจำนวนโมเลกุลเท่าใด
มวลโมเลกุลของน้ำ (H2O)=18
และน้ำ2cm3จะมีมวล=2g.จาก g N
------- = -----
m 6.02x10ยกกำลัง23
2 N
-------- = ----------
18 6.02x10ยกกำลัง23
ดังนั้นN=6.69x10ยกกำลัง23โมเลกุล
9.ที่อุณหภูมิ0องศาเซลเซียส ความดัน1บรรยากาศและปริมาตร11.2 ลูกบาศก์เดซิเมตรก๊าซในข้อใดที่มีมวลเท่ากัน (C=12,S=32,O=16,N=14,H=1)
ตอบลบ1. SO2และCO2
2. N2และCO
3. O2และNO
4. C2H4และN2O4
ตอบข้อ2
วิธีคิด เพระว่าก๊าซ N2และCOมีมวลโมเลกุล =28เท่ากัน
ดังนั้นก๊าซทั้ง2ชนิด 11.2 dmยกกำลัง3 ที่STP มีมวล =11.2÷22.4×28
=14g #
10.ตะกั่ว (Pb) มีความหนาแน่เท่ากับ11.0 g cmยกกำลัง-3อยากทราบว่าตะกั่ว1อะตอมมีปริมาตรที่cmยกกำลัง3(Pb=207)
1. 5.64×10ยกกำลัง-23
2. 3.12×10ยกกำลัง-23
3. 3.44×10ยกกำลัง-22
4. 18.8
ตอบข้อ2
วิธีคิด Pb 1อะตอมมีมวล= 207×1.66×10ยกกำลัง-24g
Pb 11.0g มีปริมาตร=1cmยกกำลัง3
Pb 207×1.66×10ยกกำลัง-24gมีปริมาตร =(207×1.66×10ยกกำลัง-24)÷11
=3.12×10ยกกำลัง-23cmกำลัง3 #
นางสาวสุภาพร มากยอด เลขที่24 ม.4/1
11.อากาศประกอบด้วย O2(g)จำนวน21%โดยปริมาตรอยากทราบว่าอากาศปริมาตร1cmยกกำลัง3ที่STPประกอบด้วยO2(g)กี่โมเลกุล
ตอบลบ1. 5.64×10ยกกำลัง18
2.1.13×10ยกกำลัง18
3. 2.68×10ยกกำลัง18
4. 5.36×10ยกกำลัง18
ตอบข้อ1
วิธีคิด อากาศ 100cmยกกำลัง3มีO2=21cmยกกำลัง3
อากาศ1cmยกกำลัง3มีO2=21÷100=0.21cmยกกำลัง3
=0.21÷(22.4×1000)×6.02×10ยกกำลัง23 โมเลกุล
=5.64×10ยกกำลัง18 โมเลกุล
12.ก๊าซชนิดหนึ่งมีมวล 0.8850g และมีปริมาตร 450cmยกกำลัง3ที่STP จะมีมวลโมเลกุลเท่าใด
1. 4.405
2. 44.053
3. 50.42
4. 62.74
ตอบข้อ2
วิธีคิด gส่วนM=vส่วน22.4 =>0.8850ส่วนด้วยM
=450÷(22.4×1000)
M=(0.8850×22.4×1000)÷450
=44.053 #
นางสาวสุภาพร มากยอด เลบที่24 ม.4/1
13.ก็าซBมีความหนาแน่นเป็น1.2เท่าของก๊าซCO2ที่STPก็าซBมีมวลโมเลกุลเท่าใด (C=12,O=16)
ตอบลบ1. 37.42
2. 46.55
3. 48.70
4. 52.68
ตอบข้อ4
วิธีคิด ก็าซCO2มีมวลโมเลกุล 44
d=Mส่วนด้วยV
ที่STP ก็าซCO2 มีควานหนาแน่น(d)=44÷22.4=1.92g/dmยกกำลัง3
ก็าซ B มีควานหนาแน่น=1.96×1.2=2.352
d=Mส่วนด้วยV
มวลโมเลกุลของก๊าซ B(M)=d×v
=2.352×22.4
=52.68 #
14.แคลเซียม(Ca) มีเลขอะตอมเท่ากับ20มีมวลอะตอมเท่ากับ40 อยากทราบว่า Caจำนวน80g จะมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่าใด
1. 40โมล
2. 2 โมล
3. 2.41×10ยกกำลัง24อิเล็กตรอน
4. 4.82×10ยกกำลัง26อิเล็กตรอน
ตอบข้อ 3
วิธีคิด Can 80g=80÷40=2โมลอะตอม
=2×6.02×10ยกกำลัง23
=1.204×10ยกกำลัง24อะตอม
Ca มีการจัดอิเล็กตรอน=2,8,8,2
Ca 1.204×10ยกกำลัง24 อะตอม มีเวเลนซ์อิเล็กตรอน= 1.204×10ยกกำลัง24×2ตัว
=2.41×10ยกกำลัง24
หรือมีเวเลนซ์อิเล็กตรอน=2.408×10ยกกำลัง24÷6.02×10ยกกำลัง23
=4 mol #
นางสาวสุภาพร มากยอด เลขที่24 ม.4/1
1.ถ้าผสมกรดซัลฟิวริก(H2SO4)10.66กรัมกับน้ำ 95.94 กรัม และปริมาตรของสารละลายที่ได้เท่ากับ 100cm3 สารละลายที่ได้มีความเข้มข้นกี่โมล/ลิตร (H=1,S=32,O=16)
ตอบลบก)1.18 ข)1.09 ค)2.18 ง)3.24
ตอบ สารละลายH2SO4 100CM3 มีเนื้อH2SO4เท่ากับ10.66กรัม
สารละลายH2SO4 1.000CM3 มีเนื้อH2SO4เท่ากับ10.66คูณ1.000หาร100เท่ากับ106.6
มวลโมเลกุลของH2SO4เท่ากับ98 H2SO4 106.6กรัม เท่ากับ106.6หาร98เท่ากับ1.09โมล สารละลายที่มีความเข้าข้น เท่ากับ1.09โมล/ลิตร
2.จงคำนวณหาจำนวนโมเลกุลของน้ำตาลทรายใน1.0cm2ของสารละลายน้ำตาลทรายเข้มข้น0.1โมล/ลิตร (c=12,H=1,O=16)
ก)6.02x10ยกกำลัง21 ข)1.2x10ยกกำลัง23 ค)1.2x10ยกกำลัง20 ง)6.02x10ยกกำลัง19
ตอบ สารละลายน้ำตาลทราย 1 cm
ยกกำลัง3 = 0.1หาร1.000 โมล
= 1.0×10 ยกกำลัง -4 โมล
น้ำตาลทราย 1 โมล มีจำนวนโมเลกุล = 6.02×10 ยกกำลัง 23 โมเลกุล
น้ำตาลทราย 1.0×10 ยกกำลัง -24 โมล มีจำนวนโมเลกุล = 6.02×10ยกกำลัง 23 ×1.0×10 ยกกำลัง -4 โมเลกุล
จำนวนโมเลกุลของน้ำตาลทราย = 6.02×10ยกกำลัง19
3)สารละลาย(NH4)2SO4จำนวนหนึ่งมีความหนาแน่น 1.289 กรัม/ลบ.ซม.(cmยกกำลัง3) และสารละลายนี้มี(NH4)2SO4อยู่50.00% โดยน้ำหนัก ความเข้มข้นของสารละลายนี้คิดเป็นกี่โมล/ลิตร (H=1,N=14,O=16,S=32)
ก)2.44 โมล/ลิตร ข)3.62 โมล/ลิตร ค)4.88โมล/ลิตร ง)9.76 โมล/ลิตร
ตอบ ความหนาแน่น = มวล หาร ปริมาตร
ปริมาตรของสารละลาย(NH4)2SO4 =100หาร1.289 cmยกกำลัง3
สารละลาย (NH4)2SO4 100หาร1.289 cmยกกำลัง3 มีเนื้อ (NH4)2SO4 = 50 กรัม มวลสูตร (มวลโมเลกุล) ของ (NH4)2SO4 = 132
สารละลาย (NH4)2SO4 100หาร1.289 cmยกกำลัง3 มีเนื้อ (NH4)2SO4 =50หาร132 โมล
สารละลาย (NH4)2SO4=50หาร132 โมล
สารละลาย (NH4)2SO4 1.000 cm3 มีเนื้อ(NH4)2SO4= 50×1.000×1.289หาร132×100=4.88โมล
4)สารละลาย NaOH เข้มข้น 0.1โมล/ลิตร จำนวน 150 cm3 จะต้องเติมน้ำเท่าไรจึงจะได้สารละลายเข้มข้น 0.2 โมล/ลิตร
1)750cm3 2)600 cm3 3)500 cm3 4)400 cm3
ตอบ C1V1=C2V2
0.1×150= 0.02×V2
V2= 0.1×150หาร0.02=750cm3
จะต้องเติมน้ำ = 750-150 = 600 cm3
5)เมื่อผสมเบนซิล 150 cm3 กับโทลูอีน 300 cm3 เข้าด้วยกันจะได้สารละลายเข้มข้นเท่าใด กำหนดให้ ความหนาแน่นของเบนซิลและโทลูอีนเป็น 0.8 และ 0.9 g/cm3 ตามลำดับ มวลโมเลกุลของเบนซิลและโทลูอีนเป็น 78และ92 ตามลำดับ
1)2.50 2)3.42 3)6.98 4)9.93
ตอบ เบนซิลมีปริมาตรน้อยกว่าแสดงว่า เบนซิลเป็นตัวถูกละลาย ส่วนโทลูอีนเป็นตัวทำละลาย
เบนซิล150cm3 = 150×0.8 = 120g
C=g×1,000หาร M×V = 120×1,000หาร 78×(150+300)=3.42 mol/dm3
6)จงคำนวนความเข้มข้นของสารละลายเป็นโมล/ลิตร เมื่อก๊าซ HCL จำนวน 50 ลิตร ละลายในน้ำจนครบ 2 ลิตร ที่ STP
ตอบลบ1)2.24 โมล/ลิตร 2)1.12 โมล/ลิตร 3)0.67 โมล/ลิตร 4)0.56 โมล/ลิตร
ตอบ ก๊าซHCL 22.4 ลิตรที่ STP = 1โมล
ก๊าซHCL 50 ลิตรที่ STP = 50หาร22.4 = 2.23 โมล
สารละลาย 2 ลิตร มีเนื้อ HCL = 2.23 โมล
สารละลาย 1 ลิตร มีเนื้อ HCL = 2.23หาร2 = 1.12 โมล
สารละลายที่ได้เข้มข้น = 1.12 โมล/ลิตร
7)มีสารละลายอยู่ 3 บีกเกอร์ บีกเกอร์ที่ 1 จำนวน 200 cm3 มีสารA เข้มข้นร้อยละ 8 โดยมวล มีความหนาแน่น 1.2 g/cm3 บีกเกอร์ที่ 2 จำนวน 300 cm3 มีสารA เข้มข้น 0.2mol/l บีกเกอร์ที่ 3 จำนวน 100 cm3 ประกอบด้วยสารA 12 กรัม เมื่อนำสารละลายในบีกเกอร์ทั้ง 3 มาเทรวมกันสาละลายผสมเข้มข้นกี่ mol/dm3 (A มีมวลโมเลกุล=48)
ตอบ บีกเกอร์ที่ 1 C=(%)10D =8×10×1.2 หาร 48 = 2mol/dm3
สารละลายA ในบีกเกอร์ที่ 1 เข้มข้น = 2 mol/dm3
บีกเกอร์ที่ 3 A 12 g = 12 หาร48 = 0.25 mol
สารละลาย A ในบีกเกอร์ที่ 3 เข้มข้น = 0.25×1.000 หาร 100 = 2.5 mol/dm3
เมื่อนำสารละลายทั้ง 3 บีกเกอร์เทรวมกันปริมาตรของสารละลายผสม = 200+300+100=600 cm3
CV = C1V1+C2V2+C3V3
C×600 = (2×100)+(0.2×300)+(2.5×100)
600C = 400+60+250
C = 1.18 mol/dm3
สารละลายผสมเข้มข้น = 1.18 mol/dm3
8)เมื่อนำสารที่ไม่แตกตัวและไม่ระเหยหนัก 10.0 กรัม ละลายในน้ำ 100.0 กรัม สารละลายมีจุดเยือกแข็งเป็น -0.62 °C ถ้าสารละลายนี้มีความหนาแน่น 1.08 g/cm3 ความเข้นข้นของสารละลายนี้ในหน่วย mol.dmยกกำลัง -3 คือเท่าไร (กำหนดใฟ้น้ำมีค่า Kf= 1.86 °C/m) (ข้อสอบอัตนัย)
ตอบ 0.33 mol/dm3 วิธีคิด M=W1×1,000×Kf หาร W2×เดลต้าTf = 10×1,000×1.86หาร 100×0.62 = 300
มวลของสารละลาย = 10+100 = 110 g
ปริมาตรของสารละลาย = 110 หาร 1.08 = 101.85 cm3
C = g×1,000หารM×V = 10×1,000 หาร 300×101.85 = 0.33 mol/dm3
9)หินปูนทำปฏิกิริยากับกรดไฮโดรคลอริกดังนี้
CaCO3(s) + 2HCl(aq) ------> CaCl2(aq) + H2O(l) + CO2(g)
เมื่อใช้หินปูน (CaCO3) จำนวนหนึ่งใส่ในกรดไฮโดรคลอริก (HCl) 1.825 กรัม ปรากฏว่าเกิด CaCl2 2.775 กรัม H2O 0.45 กรัม CO2 1.1 กรัม พร้อมทั้งเหลือ CaCO3 จำนวนหนึ่ง ซึ่งหนักเป็น 2 เท่าของ CO2 ที่เกิดขึ้น ถ้าการทดลองนี้เป็นไปตามกฏทรงมวล ข้อใดสรุปได้ถูกต้อง
1. มวลเริ่มต้นของ CaCO3 - 3.6 กรัม.
2. มวลเริ่มต้นของ CaCO3 - 4.7 กรัม
3. มวลของ CaCO3 ที่ใช้ไป - 2.1 กรัม
4. มวลของ CaCO3 ที่ใช้ไป 3.5 กรัม วิธีคิด. มวลของสารก่อนเกิดปฏิกิริยา - มวลของสารภายหลังการปฏิกิริยา
มวลของสารก่อนเกิดปฏิกิริยาคือ มวลของ CaCO3 + มวลของ HCl
มวลของสารหลังเกิดปฏิกิริยาคือ มวลของ CaCO2 + มวลของ H2O + มวลของ CO2 และ + มวลของ CaCO3 ที่เหลือ
มวลของ CaCO3 ที่เหลือ =. 2 x 1.1 = 2.2 กรัม
และให้มวลเริ่มต้นของ CaCO3 =. X กรัม
จะได้ว่า. X + 1.825 =. 2.775 + 0.45 + 1.1 + 2.2
X. =. 6.525 - 1.825 = 4.7
ดังนั้น มวลของ CaCO3 ที่ใช้ไป. = X. = 4.7 กรุม
(มวลของ CaCO3 ที่ใช้ไป. =. 4.7 - 2.2 = 2.5 กรัม)
10)ในการทดลองครั้งที่ 1 เผาเหล็ก 22.34 กรัม กับกำมะถัน 18.0 กรัม ปรากฏว่าเกิดสารประกอบไอร์ออน (II) ซัลไฟต์ และมีกำมะถันเหลืออยู่ 5.18 กรัม ในการทดลองครั้งที่ 2 ทำการวอเคราะห์สารประกอบไอร์ออน (II) ซัลไฟต์ ที่มีอยู่เดิมพบว่ามีกำมะถันร้อยละ 36.47 โดยมวล ผลการทดลองนั้นสนับสนุนกฏสัดส่วนคงที่หรือไม่เพราะเหตุใด
1. ไม่สนับสนุนเพราะอัตราส่วนโดยมวลของเหล็ก : กำมะถันในสารประกอบไม่คงที่
2. สนับสนุนเพราะอัตราส่วนโดยมวลของเหล็ก : กำมะถันในสารประกอบคงที่ - 2 : 1
3. สนับสนุนเพราะอัตราส่วนโดยมวลของเหล็ก : กำมะถันในสารประกอบคงที่ - 1.74 : 1
4. ไม่สนับสนุนเพราะการทดลองทั้ง 2 ครั้งในภาวะต่างกัน และทดลองไม่พร้อมกัน
วิธีทำ. การทดลองครั้งที่ 1 มวลของเหล็ก : มวลของกำมะถัน. = 22.34 : 18 - 5.18
= 22.34 : 12.82
= 1.47 : 1
การทดลองครั้งที่ 2 มวลของเหล็ก : มวลของกำมะถัน. = 100 - 36.47 : 36.47
= 63.53 : 36.47
= 1.47 : 1
11)ถ้าต้องการเตรียมสารละลาย NaCl 15% โดยมวล ข้อใดผิด
ตอบลบ1)ละลาย NaCl 7.5 g ในน้ำ 42.5g
2) ละลาย NaCl 12 g ในน้ำ 68g
3) ละลาย NaCl 15 g ในน้ำ 100g
4) ละลาย NaCl 21 g ในน้ำ 119g
ตอบ สารละลาย NaCl 15% โดยมวล แสดงว่ามี NaCl 15 g ในสารละลาย 100 g หรือในน้ำ 100-15= 85 g
12)สารละลายกรดน้ำส้มมีเนื้อกรดอยู่ร้อยละ 30% โดยน้ำหนัก จงคำนวณหาความเข้มข้นเป็นโมลต่อกิโลกรัมของกรดน้ำส้มนี้ (มวลอะตอม O=16,C=12,H1)(ข้อสอบอัตนัย)
ตอบ 7.14 mol/kg วิธีคิด กรดน้ำส้ม (CH3COOH)มีมวลโมเลกุล=60
m=w1×1,000หารw2×M = 30×1,000หาร70×60 = 7.14 mol/kg
13)สารละลายกรดH2SO4 40% โดยมวล มีความหนาแน่น 1.34 g/cm3 ถ้ามีสารละลาย 80 cm3 จะมีเนื้อกรด H2SO4 กี่กรัม (ข้อสอบอัตนัย)
ตอบ 42.88 g วิธีคิด สารละลาย 100 g มีปริมาตร =100หาร1.34 =74.63 cm3
สารละลาย 74.63 cm3 มีเนื้อ H2SO4 = 40 g
สารละลาย 80 cm3 มีเนื้อ H2SO4 = 40×80 หาร 74.63 = 48.88 g
14)สารละลายต่อไปนี้ข้อใดมีความเข้มข้น 1 โมล/ลิตร (H=1,S=32,O=16)
1)H2SO4 49 กรัม ละลายน้ำได้สารละลาย 100 cm3
2) H2SO4 49 กรัม ละลายน้ำได้สารละลาย 500 cm3
3) H2SO4 49 กรัม ละลายน้ำได้สารละลาย 1000 cm3
4) H2SO4 196 กรัม ละลายน้ำได้สารละลาย 100 cm3
ตอบ มวลโมเลกุล H2SO4 = 98
สารละลาย H2SO4 500 cm3 มีเนื้อ H2SO4 = 49หาร98 = 0.5 โมล
สารละลาย H2SO4 1,000 cm3 มีเนื้อ H2SO4 = 0.5×1,000 หาร 500 =1 โมล
สารละลาย H2SO4 ที่ได้มีความเข้มข้น = 1 โมล/ลิตร
15)สารละลายของตัวถูกละลายชนิดใดจะมีจุดเยือกแข็งต่ำที่สุด ถ้าสารละลายเหล่านั้นมีความเข้มข้น 1.0 mol/kg และมีน้ำเป็นตัวทำละลายเหมือนกัน (K=39,S=32,O=16,Na=23,P=31,Cl=35.5,Ca=40)
1)K2SO4
2)Na3PO4
3)CaCl2
4)C6H12O6
ตอบ เพราะ Na3PO4 เมื่อละลายน้ำจะแตกตัวดังนี้
Na3PO4 > 3 Na+ + PO4 3-
ดังนั้นทำให้สารละลายเข้มข้น 4 โมลไอออน/กิโลกรัม ซึ่งเข้นข้นมากที่สุดจึงมีจุดเยือกแข็งต่ำที่สุด
16)สารA ละลายในกรดแอซิติกเป็นสารละลายมีความเข้มข้น 1 โมล/กิโลกรัม มีจุดเดือด 120.97 °C ถ้า Kb ของกรดแอซิติกเท่ากับ 3.07 กรดแอซิติกบริสุทธิ์มีจุดเดือดเท่าใด
1)107.96 °C
2)125.20 °C
3)117.90 °C
4)มากว่า 120.97 °C
ตอบ เพราะว่าค่า Kb คือผลต่างระหว่างจุดเดือดของสารละลายที่มีความเข้มข้น 1 โมล/กิโลกรัมกับจุดเดือดของตัวทำละลายบริสุทธิ์สมมติให้กรดแอซิติกบริสุทธิ์มีจุดเดือด
17)จงคำนวนหาจุดเดือดของสารละลายของ antifreeze (C2H4(OH)2)ในน้ำเข้มข้น 0.200 โมล/กิโลกรัม ถ้า Kb ของน้ำเท่ากับ 0.51 °C/m
1)101.02 °C
2)1.02 °C
3)100.102 °C
4)ไม่มีคำตอบที่ถูกต้อง
วิธีคิด
สารละลาย C2H4(OH)2 เข้มข้น 1 โมล/กิโลกรัมมีจุดเดือดสูงขึ้น = 0.51 °C
ถ้าสารละลาย C2H4(OH)2 เข้มข้น 0.20โมล/กิโลกรัมมีจุดเดือดสูงขึ้น= 0.51×0.2 °C
=0.102 °C
จุดเดือดของน้ำบริสุทธิ์ = 100 °C
จุดเดือดของสารละลาย = 100+0.102 °C
= 100.102 °C
18)สารAประกอบด้วย C 1.8 โมล,H 2.89×10ยกกำลัง24 อะตอม และ O 9.6 กรัม สูตรแอมพิริคัลของสาร A คือข้อใด (H=1,C=12,O=16)
1)C3H8O2
2)C2H4O
3)C2H5O2
4)C3H8O
วิธีคิด อัตราส่วนโดยจำนวนโมลอะตอมของ C:H:O
=1.8 : 2.89×10ยกกำลัง24หาร 6.02×10ยกกำลัง 23 :9.6หาร 16
=1.8 : 4.8 : 0.6
=1.8 หาร 0.6 : 4.8 หาร 0.6 : 0.6 หาร 0.6
=3 : 8 : 1
สูตรเอมพิริคัลของสาร A คือ C3H8O
19)จากการวิเคราะห์นิโคตินที่มีในบุหรี่ พบว่าประกอบด้วย C 74.0% H 8.65% และ N 17.3% โดยน้ำหนักนิโคตินมีสูตรเอมพิริคัลเป็นอย่างไร (N=14,C=12,H=1)
1)C10H12N
2)C6H7N
3)C5H7N
4)C5HIN
วิธีคิด
อัตราส่วนโดยน้ำหนัก C : H : N
= 74.0 : 8.65 : 17.3
อัตรส่วนโดนจำนวนโมลอะตอม C : H : N
= 74.0 หาร 12 : 8.65 หาร 1 : 17.3หาร 14
=6.16 : 8.65 : 1.23
= 6.16 หาร 1.23 : 8.65 หาร 1.23 : 1.23 หาร 1.23
=5 : 7 : 1
นิโคตินมีสูตรเอมพิริคัลเป็น C5H7N
20)เมื่อนำ 0.538 กรัมของ Oxide ของโลหะ X มาทำการ Reduce จนถึงที่สุดปรากฎว่าได้โลหะ X หนัก 0.477 กรัม กำหนดให้มวลอะตอมของ X = 63 จงคำนวนหาสูตรเอมพิริคัลของ Oxide นั้น
1)XO2
2)X2O
3)X2O3
4)X2O5
วิธีคิด
มวลของ O ที่รวมตัวกับโลหะ = 0.538-0.477 กรัม
=0.061 กรัม
อัตราส่วนโดยจำนวนมวลอะตอม X : O =
0.477 หาร 63 : 0.061หาร 16
= 2 : 1
สูตรแอมพิริคัลของออกไซด์นี้คือ X2O
นางสาวณัฐนรี ปัตเมฆ ม.4/1เลขที่12
15.สารในข้อใดที่มีปริมาตรเท่ากันที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน(C=12,H=1,O=16,S=32)
ตอบลบ1. ก๊าซCO2 2.2กรัมและก๊าซC3H8 2.2 กรัม
2. ก๊าซH2 3.01×10ยกกำลัง23 โมเลกุลกับก๊าซSO2 64กรัม
3. ก๊าซO3 1.6กรัมกับก๊าซNO2 2.3กรัม
4. ก๊าซC2H6 1.204×10ยกกำลัง24โมเลกุลกับก๊าซSO3 2.408 ×10ยกกำลัง24อะตอม
ตอบข้อ1
วิธีคิด CO2 มีมวลโมเลกุล =12+32=44
CO2 2.2g = 2.2÷44mol=0.05โมลโมเลกุล
C3H8 มีมวลโมเลกุล=12×3×+1×8=44
C3H8 2.2 =2.2÷44mol=0.05 โมลโมเลกุล
ดังนั้น ก๊าซCO2และก๊าซC3H8มีจำนวนโมเลกุลเท่ากันจึงมีปริมาตรเท่ากันที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน
16.จากการทราบว่าน้ำหนักอะตอม (หรือมวลอะตอม) ของแคลเซียมเท่ากับ40 ให้พิจารณาว่าข้อความต่อไปนี้ข้อใดไม่ถูกต้อง
1. แคลเซียมหนึ่งอะตอมหนักเป็น40เท่าของน้ำหนัก 12(อยู่ด้านบนธาตุ) Cหนึ่งอะตอม
2. แคลเซียมหนึ่งกรัมโมเลกุล(หรือโมล) หนัก40กรัม
3. แคลเซียม40กรัมมีจำนวนอะตอมเท่ากับ6.02×10ยกกำลัง23อะตอม
4. แคลเซียมหนึ่งอะตอมเท่ากับ 40ส่วน6.02×10ยกกำลัง-23กรัม
ตอบข้อ1 เพราะแคลเซียม1อะตอมหนักเป็น40เท่าของมวล เศษ1ส่วน12ของC=12. 1อะตอมไม่ใช่40เท่าของC=12. 1อะตอม
นางสาวสุภาพร มากยอด เลขที่24 ม.4/1
17.กรดแอซิติก24กรัมจะมีจำนวนออกซิเจนอะตอมอยู่ทั้งหมดเท่าใด(C=12,H=1,O=16)
ตอบลบ1. 6.02×10ยกกำลัง23อะตอม
2. 4.82×10ยกกำลัง23อะตอม
3. 2.41×10ยกกำลัง23อะตอม
4. 1.20×10ยกกำลัง23อะตอม
ตอบข้อ2
วิธีคิด สูตรโมเลกุลของกรดแอซิติคือCH3COOH มีมวลโมเลกุล=60
CH3COOH 24g =24÷60 mol
มีออกซิเจน=24÷60×2×6.02×10ยกกำลัง23
=4.816×10ยกกำลัง23อะตอม
18.N2S5 กี่กรัมจึงจะมี S อยู่60กรัม (N=14,S=32)
1. 188
2. 160
3. 90.5
4. 70.5
ตอบข้อ4
วิธีคิด N2S5 มีมวลโมเลกุล =14×2+32×5=188
S 5×32g อยู่ใน N2S5 =188
S 60g อยู่ใน N2S5 =(188×60)÷(5×32)=70.5g
นางสาวสุภาพร มากยอด เลขที่24 ม.4/1
ทินภัทร มุขเมฆ
ตอบลบ1.(มช 50) สารละลายที่มีน้ำเป็นตัวทำลายและมีความเข้มข้นเป็น 0.100 โมล/กิโลกรัม มีจุดเยือกแข็งเป็น-0.60 องศาเซลเซียส ตัวถูกละลายในสารละลายดังกล่าวจะเป็นสารใด (กำหนดค่า Kf ของน้ำบริสุทธิ์ 1.86 องศาเซลเซียส/m)
จาก ความเข้มข้น(m) = 0.1 mol/kg
จะได้ Tเยือกแข็งตัวทำละลาย-Tเยือกแข็งสารละลาย = Tเยือกแข็.สารละลาย = -0.6องศาเซลเซียส
0-(-0.6) = (1.86)(0.1)
1 = 3.22 ประมาณ 3
ตอบMgCl2
2.(มช 36)สารละลายชนิดหนึ่งประกอบด้วยตัวทำละลายที่มีจุดเดือดอยู่ที่ 61.70 องศาเซลเซียส และตัวถูกละลายที่มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 500 เมื่อนำเอาสารละลายนี้มาหาจุดเดือดปรากฎว่าได้จุดเดือดอยู่ที่ 32.20 องศาเซลเซียส จงหาว่าในสารละลายนี้ 100 กรัม จะมีตัวถูกละลายอยู่กี่กรัม (กำหนดค่าKb ของตัวทำละลายเท่ากับ5.00องศาเซลเซียส Kg/mol)
สมมุติ มีมวลตัวถูกละลายเป็น A กรัม
ดังนั้น มวลตัวทำลาย = 100-A กรัม
จาก Tเดือดสารละลาย-Tเดือดตัวทำละลาย = kb (W1x1000)
------------
(W2xM)
62.20-61.70 = 5.00 Ax1000
----------
(100-A)500
A = 4.762 กรัม
3.(มช 39)สารประกอบที่ระเหยยาก และไม่แตกตัวมีมวล 5 กรัม เมื่อนำไปละลายน้ำ 500 กรัม ปรากฎว่าสารละลายที่ได้มีจุดเดือด 100.10องศาเซลเซียส มวลโมเลกุลของสารประกอบนี้มีค่าเท่ากับเท่าใด (กำหนดค่า Kb ของน้ำ=0.50องศาเซลเซียส /mol/kg)
จาก Tเดือดสารละลาย-Tเดือดตัวทำละลาย =Kb (W1x1000)
(W2xM)
100.1-100 = 0.50 (5x1000)
-----------
500xM
M = 50
4.(มช 41)สารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 36.5% โดยมวล มีความหนาแน่น 1.15 g/cm3 ถ้าต้องการเตรียมกรดไฮโดรคลอริกที่มีความเข้มข้น 0.345 mol/dm3 จำนวน 500 cm3 จะต้องใช้กรดไฮโดรคลอริกกี่ cm3 (H=1, Cl=35.5)
%(10)D 36.5(10)1.15
จาก C = ----------- = --------------- = 11.5 mol/dm3
m 36.5
จาก C1V1 = C2V2
11.5(V1) = 0.345(500)
V1 = 15 cm3
5.(
มช
46)
กรดเกลอเขมขนมปรมาณ
HCl = 36.5%
โดยน าหนักและมความหนาแน นเท าก ับ
1.18 g/cm3
ถาตองการเตรยมสารละลาย
HCl
ท มความเขมขนเท าก ับ
0.236 mol/dm3
จะตองนากรดเกลอเขมขนก
cm3
มาเตมน ากลั นจนมปรมาตรทั งหมดเท าก ับ
100.0 cm3
( 2 )
โจทยบอก
ความเขมขน
HCl
แบบ
%
โดยมวล
= 36.5
มวลโมเลกล
HCl ( m ) = 35.5 + 1 = 36.5 , D = 1.18 g/cm3
จาก
C =
mD)10(%
=
36.5.18)36.5(10)(1
= 11.8 mol / dm
3
จาก
C1 V1 = C2 V2 11.8 V1 = 0.236 (100 cm3)
V1 = 2 cm3
19.ธาตุMมีมวลอะตอม70และมีความหนาแน่นเท่ากับ5.02g/cmยกกำลัง3 ปริมาตรเฉลี่ยขอวธาตุนี้ 1อะตอม จะมีค่ากี่cmยกกำลัง3
ตอบลบ1. 2.31×10ยกกำลัง-23
2. 1.18×10ยกกำลัง-25
3. 4.3×10ยกกำลัง-23
4. 5.18×10ยกกำลัง-25
ตอบข้อ1
วิธีคิด ธาตุ M 1อะตอมมีมวล =70×1.66×10ยกกำลัง-24g
ธาตุM 5.02 g มีปริมาตร =1 cmยกกำลัง3
ธาตุM 70×1.66×10ยกกำลัง-24g มีปริมาตร =(70×1.66×10ยกกำลัง-24)÷5.02=2.31×10ยกกำลัง-23cmยกกำลัง3
ดังนั้น ปริมาตรเฉลี่ยของธาตุ M 1 อะตอม =2.31×10ยกกำลัง-23 cmยกกำลัง3
20.สารAเป็นสารบริสุทธิ์ โดยใน1 โมเลกุล ของสารประกอบด้วยคาร์บอน27อะตอม คิดเป็นร้อยละโดยมวลของคาร์บอนเท่ากับ80.50อยากทราบว่าสารAมีมวลโมเลกุลเท่าไร (C=12)
1. 348.3
2. 402.5
3. 430.3
4. 490.8
ตอบข้อ2
วิธีคิด C 27อะตอมมีมวล =27×12=324
C 80.50 gอยู่ในสารA =100g
C 324g อยู่มนสารA =(100×324)÷80.50=402.5g
ดังนั้น สาร Aมีมวลโมเลกุล =402.5
นางสาวสุภาพร มากยอด เลขที่24 ม.4/1
ทินภัทร มุขเมฆ
ตอบลบ6.(มช 50) สารละลายNaOH เข้มข้น 6.0M มีความหนาแน่น 1.24 g/cm3 คิดเป็ฯร้อยละโดยมวลเท่ากับเท่าไหร่
จาก C =%(10)D
----------
M
=%(10)12.4
-------------
40
%โดยมวลจะได้ = 19.35
7.เมื่อผสม NaCl 2mol/dm3 จำนวน 10cm3 กับ 4mol/dm3 จำนวน100 cm3 แล้วเติมNaClอีก 175.5 g แล้วเติมน้ำจนมีปริมาตร 500cm3 จงหาความเข้มข้นสารผสม
จาก C1 = 2 mol/dm3 V1 = 10cm3
C2 = 4 mol/dm3 V2 = 100cm3
g3 =175.5 g. --------->g = V3C3
------ -------
m 1000
C3V3 = 1000xg
----
m
Cรวม =? Vรวม=500cm3
CรวมVรวม = C1V1+C2V2+C3V3
Cรวม(500) = 2(10)+(4)10+(100)xg
-----
m
= 20+400+100x175.5
--------
58.5
-------------------------------
500
= 6.84mol/dm3
8.(มช 25)มีขวดบรรจุสารละลาย HCl ขวดที่ 1 ซึ่งมีความเข้มข้น 1 mol/dm3 จำนวน 300cm3 กับ HCl ขวดที่2 ซึ่งมีความเข้มข้น 2mol/dm3 จำนวน 200 cm3 แล้วเติมน้ำลงไปอีก500 cm3 ถามว่าสารละลายผสมที่ได้จะมีความเข้มข้นกี่ mol/dm3
จากสูตร CรวมVรวม = C1V1+C2V2
Cรวม(1000)=1(300)+2(200)
Cรวม=700 = 0.7mol/dm3
------
1000
9.(มช 45)มีขวดบรรจุสารละลาย HCl 2ใบ ใบที่1 มีHcl เข้มข้น 0.50 mol/dm3 อยู่ 5.0dm3 ใบที่2มีHCl เข้มข้น 0.10mol/dm3 อยู่5.0dm3 ถ้าต้องการเตรียมสารละลายยHClเข้มข้น 0.20mol/dm3โดยการนำHCl จากขวดใบที่1 มา 0.5dm3 แล้วจะต้องนำHCl จากขวดใบที่ 2 จำนวนกี่dm3
จากCรวมVรวม =C1V1+C2V2
(0.2)(0.5+A) =0.5(0.5)+0.1A
0.1+0.2A =0.25+0.1A
A =1.5dm3
10.สารละลายชนิดหนึ่ง 100cm3 เข้มข้น 3mol/dm3 ต้องการเตรียมใหเข้มข้นเป็น 2 mol/dm3 จะต้องเติมน้ำจนมีปริมาตรเท่าไหร่
จะได้ C1V1 =C2V2
3x100=2xV2
V2 =150cm3
ทินภัทร มุขเมฆ
ตอบลบ11.มีNaOH 1mol/dm3 อยู่ 500cm3 แบ่งมา 100cm3 ทำให้เจือจางเป็น 1ลิตร สารละลายนี้เข้มข้นเท่าใด
จาก C1V1=C2V2
1x100=C2x1000
C2=0.1mol/dm3
12.เมื่อผ่านแก๊สไฮโดรเจนคลอไรด์ (HCl)5.6dm3 ที่ STP ลงในน้ำกลั่นเป็นสารละลาย300cm3ถ้าได้แก๊สไฮโดรเจนคลอไรด์ละลายทั้งหมด จะได้สารละลายเข้มข้นกี่โมล/ลิตร
จากสูตร แก๊ส = CV
------- -------
22.4 1000
5.6 = Cx300
------ ----------
22.4 1000
C=0.83โมล/ลิตร
ทินภัทร มุขเมฆ
ตอบลบ13.โพเเทสเซียมแมงกาเนต (K2MnO4) จำนวน 59.1 กรัม ละลายในสารละลาย 100 cm3 สารละลายนี้มีความเข้มข้นกี่ mol/dm3 (K=39, Mn=55, O=16)
จากสูตร g CV
------ = --------
M 1000
59.1 Cx100
-------- = -----------
197 1000
C = 3โมล/ลิตร
14.เมื่อใช้NaOH 20กรัม เตรียมสารละลายให้มีความเข้มข้น 30% โดยมวล/ปริมาตร จะได้สารละลายกี่ cm3
จาก % โดยมวล/ปริมาตร = มวลตัวถูกละลาย
------------------- x100
ปริมาตรสารละลาย (cm3)
30 = 20
----- x100
ปริมาตร
ดังนั้นปริมาตรสารละลาย= 66.67 cm3
15.เมื่อละลายน้ำตาลกลูโคส 30 กรัม ในน้ำกลั่น 120 กรัม จงหาว่าสารละลายนี้มีความเข้มข้นโดยมวลเท่าใด
จาก ร้อยละโดยมวล/ปริมาตร = มวลตัวถูกละลาย
--------------------- x100
มวลสารละลาย
= 30
---------- x100
120+30
= 20
ทินภัทร มุขเมฆ
ตอบลบ16.(มช 39)จะต้องเติมน้ำตาลทรายกี่กรัม ลงในสารละลายน้ำตาลเข้มข้น 5% โดยมวล จำนวน 200 กรัม เพื่อให้ได้สารละลายเข้มข้น 20% ดดยมวล
ร้อยละโดยมวลต่อมวล=มวลตัวถูกละลาย
-------------------- x100
มวลสารละลาย
5 =มวลน้ำตาล
--------------- x100
200
มวลน้ำตาล =10กรัม
ต้องการเปลี่ยนความเข้มข้นเป็น20%โดยมวล สมมุติเติมน้ำตาลเข้าไปอีก xกรัม สุดท้ายจึงมีสารละลาย 200+xกรัม และมีน้ำตาล 10+xกรัม
ร้อยละโดยมวลต่อมวล=มวลตัวถูกละลาย
--------------------- x100
มวลสารละลาย
20 =10+x
-------- x100
200+x
x =37.5กรัม
17.ธาต
A 2
อะตอม
มมวลเท าก ับ
1.824 x 10 –22
กรัม
มวลอะตอมของ
A
มค าเท าใด
(
ก าหนดให
121
มวลของ
C – 12
เท าก ับ
1.66x10 –24
กรัม
)
ธาต
A 2
อะตอม
= 1.824 x 10 –22
กรัม
ธาต
A 1
อะตอม
182410222.
× −
= 9.12 x 10 –23
กรัม
ดังนั นมวลอะตอม
A =
241066.1231012.9
−×= 55
18.(
มช
40)
ธาต
M
มมวลอะตอม
70
และมความหนาแน นเท าก ับ
5.02 g / cm3
ปรมาตรเฉล ย
ของธาตน
1
อะตอม
จะมค าก
cm3
จากมวลอะตอม
M = 70 amu = (70)(1.66x10 –24)
กรัม
ความหนาแน น
= 5.02 g/cm3
ปรมาตร
= ?
จาก
ความหนาแน น
=
ปรมาตร= 5.02)2410(70)(1.66
−×= 2.31x10-23 g/cm3
19.สมมุติxมี3ไอโซโทปในธรรมชาติคือ
ไอโซโทปที่1มี80% มวล12
ไอโซโทปที่2มี15% มวล13
ไอโซโทปที่3มี5% มวล14
จงหามวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุx
มวลอะตอมเฉลี่ย=ผลรวม(%xมวล)
-----------------------
100
=(80x2)+(15x3)(5x14)
--------------------------
100
=960+195+70
--------------------
100
=1125 =12.25
-------
100
20.
มช
39)
ธาต
A
มมวลอะตอมเท าก ับ
60.0
ทาปฏก รยาก ับธาต
B
ทาใหเก ดสารประกอบ
AB2
ถา
2
กรัมของ
A
ทาปฏก รยาก ับ
8
กรัมของ
B
ไดสารประกอบ
AB2
มวลอะตอมของ
B
คอ
จากสูตรโมเลกุลจะได้ว่า โมลA 1
-------- = -----
โมลB 2
ดังนั้น โมลB=2โมลA
gB gA
-------- = (2)-------
mB mA
8 2
----- = (2) ------
mB 60
mB = 120####
ทินภัทร มุขเมฆ##################
.......นางสาววันวิสา มีสุข เลขที่ 16......
ตอบลบ1.) (มช 40) ธาตุ M มีมวลอะตอม 70 และมีความหนาแน่นเท่ากับ 5.02 g/cm3 ปริมาตรเฉลี่ยของธาตุนี้ 1 อะตอม จะมีค่ากี่ cm3
วิธีทำ จากมวลอะตอม M = 70 amu = (70)(1.66 𝑥 10−24 ) กรัม
ความหนาแน่น = 5.02 g/cm3
ปริมาตร = ? จาก ความหนาแน่น = มวล ปริมาตร
= (70)(1.66 𝑥 10−24) 5.02 = 2.31 x 10−23 g/cm3 ##
2.) (มช 38) ก๊าซชนิดหนึ่งมีปริมาณ 448 cm3 ที่ STP มีมวล 0.60 กรัม ก๊าซนี้น่าจะ ได้?
วิธีทำ โจทย์บอก vแก๊ส = 448 cm3 = 0.448 ลิตร , g = 0.60 กรัม
จาก g m = v 22.4 0.6 m = 0.448 ลิตร 22.4 m = 0.6(22.4 x 103) 448 x 10−3 = 30
แสดงว่าสารนี้มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 30 ซึ่งน่าจะเป็น C2H6 ##
∴ เพราะ C2H6 มีมวลโมเลกุล = 2(12) + 6(1) = 30 เช่นกัน
3.) (มช 38) กรดแอซีติก 24 กรัม จะมีจานวนออกซิเจนอะตอมอยู่ทั้งหมด เท่ากับ?
วิธีทำ กรดแอซีติก (CH3COOH) มีมวลโมเลกุล = 12 + 3(1) + 12 + 16 +16 +1 = 60
จาก N 6.02 x 10 23 = g m N = g m (6.02 x 10 23 ) N = 24 60 (6.02 x 10 23 )
N = 𝟐. 𝟒𝟏 𝐱 𝟏𝟎 𝟐𝟑 โมเลกุล ##
4). (มช 43) ถ้านักเรียนตักน้ำบริสุทธ์มา 2 cm3 น้านั้นจะมีจานวนโมเลกุลเท่าใด กำหนดให้ : ความหนาแน่นของน้ำเท่ากับ 1.0 g/cm3
วิธีทำ มวลโมเลกุลของน้ำ (H2O) = 18 และ น้ำ 2 cm3 จะมีมวล = 2 กรัม
จาก g m = N 6.02 x 10 23 2 18 = N 6.02 x 10 23
N = 2.41 x 10 23 โมเลกุล ##
5). ธาตุ A 2 อะตอม มีมวลเท่ากับ 𝟏. 𝟖𝟐𝟒 𝐱 𝟏𝟎−𝟐𝟐 กรัม มวลอะตอมของ A มีค่าเท่าใด ( กำหนดให้ 𝟏𝟐 มวลของ c – 12 เท่ากับ 𝟏. 𝟔𝟔 𝐱 𝟏𝟎−𝟐𝟒 กรัม )
วิธีทำ ธาตุ A 2 อะตอม = 1.824 x 10−22 กรัม
ธาตุ A 1 อะตอม = 1.824 𝑥 10−22 2 = 9.12 𝑥 10−23
ดังนั้น มวลอะตอม A = 9.12 x 10−23 1.66 x 10−24 = 55 ##
6). สมมติธาตุ X มี 3 ไอโซโทป ในธรรมชาติ คือ จงหามวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุ X
วิธีทำ มวลอะตอมเฉลี่ย x = Σ (% x มวล)
100 = (80 x 12) +(15 x 13) +(5 x 14)
100 = 960 + 195 + 70
100 = 1125 100 = 12.25 ##
7). แก๊สโพรเพน (C3H8) จานวน 22 กรัม ที่ STP จะมีปริมาตรกี่ลิตร
วิธีทำ มวลโมเลกุล (M) = 3(12) + 8(1) = 36 + 8 = 44
มวลสารที่มี (g) = 22 กรัม ปริมาตรแก๊ส (vแก๊ส) = ?
จาก g m = v แก๊ส 22.4 vแก๊ส = g m x 22.4 = 22 44 x 22.4 = 11.2
8.) แก๊สชนิดหนึ่งปริมาตร 67.2 ลิตร ที่ STP จะมีกี่โมเลกุล
วิธีทำ (vแก๊ส) = 67.2 dm3 , N = ? จาก N 6.02 x 10 23 = v 22.4
N = 67.2 22.4 x 6.02 x 10 23
N = 1.806 x 10 24 โมเลกุล ##
9.) แก๊สชนิดหนึ่งหนัก 0.2 กรัม มีปริมาตร 400 cm3 ที่ STP แก๊สชนิดนี้มีมวลโมเลกุล เท่าไร
วิธีทำ โจทย์กำหนด g = 0.2 กรัม ,
vแก๊ส = 400 cm3 1000 = 0.4 dm3 ,
M = ? จาก g m = v 22.4
จะได้ M = g x 22.4 v M = 0.2x 22.4 0.4 = 11.2 ##
10). เมื่อละลายน้าตาลกลูโคส 30 กรัม ในน้ากลั่น 120 กรัม จงหาว่าสารละลายนี้มี ความเข้มข้นโดยมวลเท่าใด
วิธีทำ จาก ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร = มวลตัวถูกละลาย มวลสารละลาย x 100
= 30 120 + 30 x 100 = 20 % ##
.......นางสาววันวิสา มีสุข เลขที่ 16......
ตอบลบ11). เมื่อใช้ NaOH 20 กรัม เตรียมสารละลายให้มีความเข้มข้น 30% โดยมวล/ ปริมาตร จะได้สารละลายกี่ cm3
วิธีทำ จากโจทย์ มวล NaOH = 20 กรัม เข้มข้นโดยมวล /ปริมาตร = 30%
จะได้ % โดยมวล/ปริมาตร = มวลตัวถูกละลาย (กรัม) มวลสารละลาย (cm3) x 100 30 = 20 ปริมาตร x 100
∴ ดังนั้น ปริมาตรสารละลาย = 66.67 cm3 ##
12) (มช 40) สาร A เป็ นสารบริสุทธ์โดยใน 1 โมเลกุลของสารนี้ประกอบด้วยคาร์บอน 27 อะตอม คิดเป็ นร้อยละโดยมวลของคาร์บอนเท่ากับ 80.50 อยากทราบว่าสาร A มีมวลโมเลกุลเท่าไร
วิธีทำ สมมุติสารประกอบนี้มีคาร์บอน 27 อะตอม
ดังนั้นเฉพาะมวลคาร์บอน = 27 x 12 = 324
จาก ร้อยละของคาร์บอน = มวลคาร์บอน มวลโมเลกุล x 100 80.5
= 324 m x 100 m = 402.5 ##
13). แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) จานวน 4.48 dm3 ที่ STP จะมีกี่โมลและกี่ โมเลกุล (C =12, O = 16)
วิธีทำ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 22.4 dm3 คิดเป็ น 1 โมล
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 4.48 dm3 คิดเป็ น 1 X 4.48 22.4 โมล = 0.2 โมล
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 1 โมล มีจานวนอนุภาค 6.02 X 1023 โมเลกุล
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 0.2 โมล มีจานวนอนุภาค 0.2 X6.02 X 1023 โมเลกุล
= 1.204 X 1023 โมเลกุล ##
14.) จงหาจานวนโมล จานวนโมเลกุล และปริมาตรของแก๊สคลอรีน 213 g (1 โมเลกุลประกอบด้วย Cl 2 อะตอม) (Cl = 35.5)
วิธีทำ แก๊สคลอรีน 71 g คิดเป็ น 1 โมล
แก๊สคลอรีน 213 g คิดเป็ น = 1X213 71 โมล
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 1 โมล มีจานวนโมเลกุล = 6.02 X 1023 โมเลกุล
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 3 โมล มีจานวนอนุภาค = 3 X 6.02 X 1023 โมเลกุล
= 1.81 X 1024 โมเลกุล ##
15.) แก๊สชนิดหนึ่งมีปริมาตร 14 dm3 ที่ STP มีมวล 2.4 กรัม จงหามวล โมเลกุลของแก๊สนี้
วิธีทำ แก๊ส 22.4 dm3 ที่ STP คิดเป็ น 1 โมล
แก๊ส 14 dm3 ที่ STP คิดเป็ น 1 X 14 22.4 = 0.625 โมล
ดังนั้น แก๊ส 0.625 โมล มีมวล 2.4 กรัม แก๊ส 1 โมล
มีมวล 2.4 X 1 0.625 กรัม 3.84 กรัม ##
16). (PAT3 ก.ค. 52) สารละลาย NaOH เข้มข้น 2 โมล/ลิตร ปริมาตร 200 มิลลิลิตร เมื่อน้ามาเติมน้ำ กลั่นจนมีปริมาตรเป็น 500 มิลลิลิตร จะทำให้สารละลายใหม่ที่ได้รับมีความเข้มข้นเท่าใด
วิธีทำ จาก c1 v1 c2 v2
จะได้ 2M x200 mL= C2 x500 mL
ดังนั้น C2= 0.8 M ##
17).จงคำนวณหา molal ของสารสารละลาย C2H5OH ในน้ำ โดยกำหนดให้เศษส่วนโมลของเอทานอลเป็น 0.05 และความหนาแน่นของสารละลาย 0.99 g/ml
วิธีทำ C2H5OH 0.05mol(1/20)
ฉะนั้นน้ำมีเศษส่วนโมล =0.95mol(19/20)
แปลงเป็นเศษส่วน จะได้ C2HOH 1mol และน้ำ 19mol
molal
ในตัวทำละลาย(น้ำ) 19x18 กรัม มี เอทานอล 1 mol
ถ้าในตัวทำละลาย 1000 กรัม จะมี 1x1000/19x18 = 2.924mol/kg ##
18).ฉลากของสารละลายขวดหนึ่ง ระบุว่าเป็น 0.7 M HCl ถ้าต้องการ HCl 0.05Mใช้ในการทำปฏิกิริยา ต้องรินสารละลาย HCl ออกมาจากขวดเท่าใด
วิธีทำ C1V1 = C2V2
0.7xV1 = 0.05xV2
V1=0.07143V2 ##
19).ต้องชั่งสารละลาย NaCl เข้มข้น 5.0% โดยน้ำหนัก ปริมาณกี่กรัม จึงจะได้เนื้อ NaCl จำนวน 3.2 กรัมอยู่ในสารละลายนี้ (64กรัม)
วิธีทำในสารละลาย 100 กรัม มี NaCl 5 กรัม
ถ้าในสารละลาย A กรัม จะมี Ax5/100 = 3.2
แก้สมการหาค่า A = 64กรัม ##
20).ถ้าต้องการ CH3OH ที่มี mole fraction 0.093 จะต้องใช้ CH3OH กี่กรัมละลายในน้ำ 500 กรัม และสารละลายที่ได้เข้มข้นกี่ molal (91.2 กรัม)
วิธีทำ X=โมลของCH3OH
โมลของน้ำ = 500/18 = 27.78mol
X/X+27.78 =0.093 แก้ค่า X= 2.8484mol
ฉะนั้นมีCH3OH= 2.8484x32 =91.15 กรัม ##
*******************************************
นายสุรเชษฐ์ พินันชัยม.4/1 เลขที่20
ตอบลบ1)นำโซดาซักผ้ามา 2.86กรัม ทำปฏิกิริยากับกรดเกลือ 0.73กรัม จะเกิดเกลือแกง 1.17กรัม น้ำ1.98กรัม ถ้าการทดลองนี้เป็นตามกฎทรงมวลเกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์กี่กรัม
1.0.22กรัม 2.0.36กรัม 3.0.44กรัม 4.4.4กรัม
วิธีคิด กำหนดให้มวลของก๊าซคาร์บอนไดซ์ที่เกิดขึ้น
มวลทั้งหมดของสารตั้งต้น = 2.86+0.73กรัม
มวลทั้งหมดของสารผลิตภัณฑ์ = 1.17+1.9+xกรัม
#มวลทั้งหมดของสารตั้งต้น = มวลทั้งหมดของสารผลิตภัณฑ์
# 2.86+0.73 = 1.17+1.98+x
x = 2.86+0.73-1.17-1.98 =0.44กรัม
ดังนัน เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์= 0.44 กรัม #
2)ก๊าซไฮโดเจนซัลไฟต์ ประกอบด้วยกำมะถันร้อยละ 94.12% และไฮโดเจน ร้อยละ 5.88% โดยมวล ถ้าใช้กำมะถัน 24กรัม ทำปฏิกิริยากับไฮโดรเจน 8กรัม จะได้ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟต์กี่กรัม
1.25.5 2.22.5 3.9.5 4.6.5
วิธีคิด กำมะถัน 94.12กรัม ทำปฏิกิริยาพอดีกับไฮโดรเจน =5.88 กรัม
ถ้ากำมะถัน 24กรัม จะทำปฏิกิริยาพอดีกับไฮโดรเจน =5.88x24/94.12
=1.499 กรัม
ดังนั้น เกิดก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟต์ =24+1.499
=25.499 กรัม
ต่อ นายสุรเชษฐ์...
ตอบลบ3)ถ้ากำมะถัน 30กรัม ถ้าปฏิกิริยากับออกซิเจน 40กรัม ปรากฏว่าได้ออกไซด์ 60กรัมกับออกซิเจน 10กรัม อยากทราบว่ามีอัตราส่วนโดยมวล S:O เท่าไร
1.2:3 2.2:1 3.3:4 4.1:1
วิธีคิด กำมะถัน 30กรัม ทำปฏิกิริยาพอดีกับออกซิเจน =40-10 =30กรัม
ดังนั้น อัตราส่วนโดยมวลของ S:O = 30:30 = 1:1 #
1.ธาตุX 2อะตอมมีมวล36.52×10ยกกำลัง-24g อยากทราบว่าธาตุXจะมีมวลอะตอมเท่าใด
ตอบลบแนวคิด มวลอะตอมของธาตุX =มวลของธาตุX1อะตอม g÷1.66×10ยกกำลัง-24 g
=36.52×10ยกกำลัง-24 g÷2÷1.66×10ยกกำลัง-24g
=18.26×10ยกกำลัง-24g÷1.66×10ยกกำลัง-24g
=11
ดังนั้นธาตุXจะมีมวลอะตอม =11
2.ธาตุS 40อะตอมมีมวลกี่กรัม (S=32)
แนวคิด มวลอะตอมของธาตุS =มวลของธาตุS1อะตอม (g)÷1.66×10ยกกำลัง-24 (g)
32= มวลของธาตุS1อะตอม (g)÷1.66×10ยกกำลัง-24 (g)
มวลของธาตุS1อะตอม =32×1.66×10ยกกำลัง-24g
มวลของธาตุS40อะตอม=32×1.66×10ยกกำลัง-24×40g
=2.125×10ยกกำลัง-21g
ดังนั้น ธาตุ S 40 อะตอม มีมวล=2.125×10ยกกำลัง-21
นางสาวอัญมณี ลาภยิ่ง
3.สารประกอบ A1 โมเลกุลมีมวล 2.56×10ยกกำลัง-22 กรัม จงคำนวณหามวลโมเลกุลของประกอบนี้
ตอบลบแนวคิด มวลโมเลกุลของสารA=มวลของสารA 1 โมเลกุล (g)÷1.66×10ยกกำลัง-24 (g)
=2.56×10ยกกำลัง-22 ÷1.66×10ยกกำลัง-24
=1.542×10ยกกำลัง2 #
นางสาวอัญมณี ลาภยิ่ง
ต่อ สุรเชษฐ์...
ตอบลบ6)ถ้ามวลสูตร KMO4 =158 จงคำนวณหามวลอะตอมของ M(K=39,O=16)
1. 55 2. 45 3. 40 4.35
วิธีคิด ให้มวลอะตอม M = X
39+X+16×4 = 158
= 158-39-64
= 55 #
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
ตอบลบต่อ สุรเชษฐ์...
ตอบลบ7)สารประกอบ ABมีมวลโมเลกุล 36.5 ประกอบด้วยธาตุ B 97.20% ธาตุ Bมีมวลอะตอมเท่าใด
1. 2.8 2. 35.5 3. 1.008 4. 60.7
วิธีคิด สารป่ะกอบ AB100กรัม ประกอบด้วยธาตุ B = 97.2กรัม
ถ้าสารประกอบ AB 36.5กรัม ประกอบด้วยธาตุ B = 97.2×36.5/100
ดังนั้น ธาตุ B มีมวลอะตอม = 35.5 กรัม #
8)ธาตุ Xมีมวลอะตอม = 40 ธาตุ Yมีมวลอะตอม = 90 ธาตุ X 50 อะตอมมีมวลเป็นกี่เท่าของธาตุ Y 10 อะตอม
1. 1.5 2. 1.8 3. 2.2. 4. 3.1
วิธีคิด ธาตุ X 1อะตอมมีมวล = 40×1.66E-24กรัม
ธาตุ X 50อะตอมมีมวล= 40×1.66E-24×50กรัม
ธาตุ Y 1อะตอมมีมวล = 90×1.66E-24กรัม
ธาตุ Y 10อะตอมมีมวล= 90×1.66E-24×10กรัม
ธาตุ X 50อะตอม/ธาตุ Y 10อะตอม =40×1.66E-24×50/90×1.66E-24×10
=2.22 #
9)ธาตุ A 1อะตอม หนัก1.5E-22 กรัม มวลอะตอมของธาตุ A มีค่าเท่าใด
1. 120 2. 90 3. 80 4. 60
วิธีคิด ธาตุ A 6.02E23 อะตอมหนัก 1.5E-22×6.02E23 กรัม
= 90 กรัม #
10)มวลอะตอมเฉลี่ยของออกซิเจนในธรรมชาติเท่ากับ
15.9994 แสดงว่าไอโซโทปใดของออกซิเจนที่มีมากที่สุดในธรรมชาติ
1. Oไอโซโทป16 2. Oไอโซโทป17
3. Oไอโซโทป18. 4. เท่ากัน
วิธีคิด เมื่อพิจารณามวลอะตอมเฉลี่ยกับเลขมวลออกซิเจน จะเห็นว่ามวลอะตอมเฉลี่ยมีค่าใกล้เคียงเลขมวล16(Oไอโซโทป16)มากที่สุด แสดงว่า Oไอโซโทป16 เป็นไอโซโทปที่มีมากที่สุดในธรรมชาติ #
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
ตอบลบน.ส. กานดารัตน์ วันทอง
ตอบลบ1. สารละลายน้ำส้มสายชู (Cห้อย2Hห้อย4Oห้อย2)มีปริมาณออกซิเจนอยู่ร้อยละ2 สารละลายนี้จะมีกรดเเอซีติกอยู่ร้อยละเท่าไร (C=12 H=1 O=16)
วิธีคิด Cห้อย2 Hห้อย4 Oห้อย2 มีมวลโมเลกุล =12x2+1x4+16x2 =60
O 16x2 g อยู่ใน Cห้อย2 Hห้อย4 Oห้อย2 =60 g
O 2g อยู่ใน Cห้อย2 Hห้อย4 Oห้อย2 =60x2/16x2 =3.75g
2. ถ้าต้องการเตียมน้ำเชื่อมมีความเข้มข้น 0.25 โมล/กิโลกรัม จำนวน 1.5 กิโลกรัม อยากทราบว่าจะต้องใช้น้ำตาล Cห้อย12 Hห้อย22 Oห้อย11 จำนวนกี่กรัม (มวลอะตอมของH=1 C=12 O=16)
วิธีคิด Cห้อย12 Hห้อย22 Oห้อย11 มีมวลโมเลกุล =12x12x+1x22+16x11 =342
Cห้อย11 Hห้อย 22 Oห้อย 11 0.25โมล =0.25x342 =85.g
มวลของน้ำเชื่อมเดิม =85.5+1000 =1085.5 g
ในน้ำเชื่อม 1085.5 g มี Cห้อย12 Hห้อย22 Oห้อย11 =85.5g
ในน้ำเชื่อม 1.5x1000 g มี Cห้อย12 Hห้อย 22 Oห้อย11 =85.5x1.5x1000/1085.5 =118.15g
3.ถ้าเลขอาโวกาโตรมีค่า 3.01x10ยกกำลัง23 ค่าความเข้มข้นที่หน่วยเป็น mol/dm ยกกำลัง3 จะมีการเปลี่ยนเเปลงจากในปัจจุบันอย่างไร
วิธีคิด ปกติเลขอาโวกาโดร=6.02x10ยกกำลัง23 ถ้าเลขอาโวกาโดร =3.01x10ยกกำลัง23 จะมีผลทำให้จำนวนโมลเพิ่มขึ้นเป็น 2เท่า
เช่น 1 mol/dm ยกกำลัง3 =6.02x10ยกกำลัง23 /3.01x10ยกกำลัง23 mol/dm ยกกำลัง3
= 2 mol/dm ยกกำลัง3
4. สารละลาย Hห้อย2 SOห้อย4 มีความหนาเเน่น 1.070g/cmยกกำลัง3 ประกอบด้วยเนื้อ Hห้อย2 SOห้อย4 10%โดยมวล จะมีปริมาตรกี่ cm ยกกำลัง3 ถ้าสารละลายมีเนื้อ Hห้อย2 SOห้อย4 บริสุทธิ์จำนวน 18.50 กรัม ( H=1 S=32 O=16)
วิธีคิด Hห้อย2 SOห้อย4 มีมวลโมเลกุล =1x2+32+16x =98
C= %10D/M =10x10x1.07 =1.09
สารละลาย Hห้อย2 SO ห้อย4 เข้มข้น =1.09 mol/dm ยกกำลัง3
=1.09 mol/dm ยกกำลัง3
Hห้อย2 SOห้อย4 106.82 g อยู่ในสารละลาย =1000 cmยกกำลัง3
Hห้อย2 SOห้อย4 18.50 g อยู่ในสารละลาย =1000x18.50/106.82 =173.19 cmยกกำลัง3
5. โซเดียมซัลเฟต 0.4 col/dmยกกำลัง3 จำนวนกี่ cm จึงมีจำนวน Na ไอออน+ เท่ากับNaไอออน+ ในโซเดียมคลอไรค์ 0.2 mol/dmยกกำลัง3 300 cmยกกำลัง3
วิธีคิด xCห้อย1vห้อย1 = y Cห้อย2 Vห้อย2
(Naห้อย2 SOห้อย4) (NaCl)
x =จำนวน Naไอออน+ =2. y= จำนวน Na ไอออน+ ใน NaCl =1
2x0.4x Vห้อย1 =1x0.2x300
Vห้อย =0.2x300/2.x0.4 =75 cmยกกำลัง3
6.สารละลายในข้อใดเข้มข้นเท่ากัน (Na=23 H=1 O=16 S=32)
วิธีคิด NaOH มีมวลสูตร (มวลโมเลกุล) =40
(1) NaOH 0.4 g =0.4/40 =0.01 mol
7. สารละลายNaOH เข้มข้น 0.1 โมล/ลิตร จำนวน150 cmยกกำลัง3 จะต้องเติมน้ำเท่าไรจึงจะได้สารละลายเข้มข้น 0.02 โมล/ลิตร
วิธีคิด Cห้อย1Vห้อย1 = Cห้อย2 Vห้อย2
0.1x150 =0.02x Vห้อย2
Vห้อย2 = 0.1x150/0.02 =750 cmยกกำลัง3
จะต้องเติมน้ำ =750-150 =600 cmยกกำลัง3
8.เมื่อผสมเบนซีน 150cmยกกำลัง3 โทลูอีน 300 cmยกกำลัง3 เข้าด้วยกันจะได้สารละลายเข้มข้นเท่าใด กำหนดให้ ความหนาเเน่นของเบนซีนเเละโทลูอีนเป็น0.8 และ0.9 g/cmยกกำลัง3 ตามลำดับมวลโมเลกุลของเบนซีนเเละโทลูอีนเป็น 78 เเละ92 ตามลำดับ
วิธีคิด เบนซีนมีปริมาตรน้อยกว่าเเสดงว่า เบนซีนเปนตัวถูกละลาย ส่วนโทลูอีนเป็นตัวละลายเบนซีน
150=cmยกกำลัง3 =150x0.8 =120 g
C = g x1000/MxV =120x1000/78x(150+300) =3.42 mol/dmยกกำลัง3
กานดารัตน์
ตอบลบ9.ถ้าต้องการเตียมสารละลาย NaCl 15% โดยมวลข้อใดผิด
วิธีคิด สารละลายNaCl 15% โดยมวล เเสดงว่ามี NaCl 15g ในสารละลาย100 g หรือในน้ำ100-15 =85g
10. สารละลายกรดน้ำส้มมีเนื้อกรดอยู่ร้อยละ 30% โดยน้ำหนัก จงคำนวณหาความเข้มข้นเป็นโมลต่อกิโลกรัมของกรดน้ำส้มนี้ (มวลอะตอม O=16 C=12 H=1)
วิธีคิด กรดน้ำส้ม (CHยกกำลัง3 COOH) มีมวลโมเลกุล =60
m=wห้อย1x1000/wห้อย2xM =30x1000/70x60 =7014 mol/kg
11. สารละลายกรด Hห้อย2SOห้อย4 %โดยมวล มีความหนาเเน่น 1.34 g/cmยกกำลัง3 ถ้ามีสารละลาย 80 cmยกกำลัง3 จะมีเนื้อกรด Hห้อย SOห้อย4 กี่กรัม
วิธีคิด สารละลาย 100g มีปริมาตร =100/1.34 = 74.63 cmยกกำลัง3
สารละลาย 74.63 cmยกกำลัง3 มีเนื้อ Hห้อย 2SOห้อย4 =40g
สารละลาย 80 cmยกกำลัง3 มีเนื้อ Hห้อย 2SOห้อย4 =40x80/74.63 =42.88 g
12. สารละลายต่อไปนี้ข้อใดมีความเข้มข้น 1โมล/ลิตร (H=1 S=32 O=16)
วิธีคิด มวลโมเลกุล Hห้อย2 SOห้อย4 =98
สารละลาย Hห้อย2 SOห้อย4 500 cmยกกำลัง3 มีเนื้อ Hห้อย2 SOห้อย4 =49/98 =0.5 โมล
13. ถ้าต้องการเตรียมสารละลาย Hห้อย2 SOห้อย4 5โมล/ลิตร จำนวน6 ลิตร จากสารละลายHห้อย2 SOห้อย4 เข้มข้น15 โมล /ลิตร จะต้องใช้กี่ลิตร
วิธีคิด Cห้อย1Vห้อย1 =Cห้อย2Vห้อย2
15xVห้อย1 = 5x6
Vห้อย1 =5x6/15 =2ลิตร
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
ตอบลบกานดารัตน์
ตอบลบ14. จงหาจานวนโมล จานวนโมเลกุล และปริมาตรของแก๊สคลอรีน 213 g (1 โมเลกุลประกอบด้วย Cl 2 อะตอม) (Cl = 35.5)
วิธีคิด แก๊สคลอรีน 71 g คิดเป็ น 1 โมล
แก๊สคลอรีน 213 g คิดเป็ น = 1X213 71 โมล
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 1 โมล มีจานวนโมเลกุล = 6.02 X 1023 โมเลกุล
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 3 โมล มีจานวนอนุภาค = 3 X 6.02 X 1023 โมเลกุล
= 1.81 X 1024 โมเลกุล
15. . แก๊สโพรเพน (C3H8) จานวน 22 กรัม ที่ STP จะมีปริมาตรกี่ลิตร
วิธีคิด มวลโมเลกุล (M) = 3(12) + 8(1) = 36 + 8 = 44
มวลสารที่มี (g) = 22 กรัม ปริมาตรแก๊ส (vแก๊ส) = ?
จาก g m = v แก๊ส 22.4 vแก๊ส = g m x 22.4 = 22 44 x 22.4 = 11.2
16.สารละลาย NaOH เข้มข้น 0.1โมล/ลิตร จำนวน 150 cm3 จะต้องเติมน้ำเท่าไรจึงจะได้สารละลายเข้มข้น 0.2 โมล/ลิตร1)750cm3 2)600 cm3 3)500 cm3 4)400 cm3
วิธีคิด C1V1=C2V2
0.1×150= 0.02×V2
V2= 0.1×150หาร0.02=750cm3
จะต้องเติมน้ำ = 750-150 = 600 cm3
17 จากการวิเคราะห์นิโคตินที่มีในบุหรี่ พบว่าประกอบด้วย C 74.0% H 8.65% และ N 17.3% โดยน้ำหนักนิโคตินมีสูตรเอมพิริคัลเป็นอย่างไร (N=14,C=12,H=1)
วิธีคิด อัตราส่วนโดยน้ำหนัก C : H : N
= 74.0 : 8.65 : 17.3
อัตรส่วนโดนจำนวนโมลอะตอม C : H : N
= 74.0 หาร 12 : 8.65 หาร 1 : 17.3หาร 14
=6.16 : 8.65 : 1.23
= 6.16 หาร 1.23 : 8.65 หาร 1.23 : 1.23 หาร 1.23
=5 : 7 : 1
นิโคตินมีสูตรเอมพิริคัลเป็น C5H7N
18.สารละลาย NaOH เข้มข้น 0.1โมล/ลิตร จำนวน 150 cm3 จะต้องเติมน้ำเท่าไรจึงจะได้สารละลายเข้มข้น 0.2 โมล/ลิตร
วิธีคิด C1V1=C2V2
0.1×150= 0.02×V2
V2= 0.1×150หาร0.02=750cm3
จะต้องเติมน้ำ = 750-150 = 600 cm3
19.สารละลาย NaOH เข้มข้น 2 โมล/ลิตร ปริมาตร 200 มิลลิลิตร เมื่อน้ามาเติมน ้า
กลั่นจนมีปริมาตรเป็น 500 มิลลิลิตร จะท้าให้สารละลายใหม่ที่ได้รับมีความเข้มข้นเท่าใด
(Na = 23, H = 1, O = 16)
วิธีคิด 3. จากC1V1=C2V2
จะได้ 2 [M]x200[mL]=C x500 [mL ]
ดังนั น C2=0.8[M ]
20. เมื่อใช้ NaOH 20กรัม เตรียมสารละลายให้มีความเข้มข้น 30% โดยมวล/ปริมาตร จะได้สารละลายกี่ cm3
วิธีคิด จากโจทย์มวลNaOH = 20 กรัม
ความเข้มข้นโดยมวล /ปริมาตร = 30%
จะได้% โดยมวล/ปริมาตร
= มวลตัวถูกละลาย(กรัม)÷ปริมาตรสารละลาย(cm3)×100
30 = 20÷ปริมาตรx 100
∴ดังนั้น ปริมาตรสารละลาย = 66.67 cm3
ต่อ สุรเชษฐ์...
ตอบลบ11)เมื่อนำสาร XCl 4.42กรัม มาทำ Electrolysis จะได้โลหะหนัก 0.89กรัม กับก๊าซคลอรีน จงหามวลอะตอมของ X(Cl=35.5)
1. 8.95 2. 26.9 3. 17.8 4. 53.8
วิธีคิด 2XCl ---> 2X+Cl2
กำหนดให้มวลอะตอมของ X=a
จากสมการ
XCl จำนวน 2a+71 ก. ได้โลหะ X =2a ก.
XCl จำนวน 4.42 ก. ได้โลหะ x =2a×4.42/2a+71
ดังนั้น 2a×4.42/2a+71 =0.89
2a×4.42 =1.78a+63.19
8.84a =1.78a+63.19
7.06a =63.19
a =8.95
ดังนั้น มวลอะตอม X=a =8.95 #
12)สารประกอบกลูโคสฟอสเฟตมีมวลโมเลกุล 260 มีความหนาแน่น 1.5g/cm3 ปริมาตรเฉลี่ยของหนึ่งโมเลกุลจะเท่ากับ
1. 29E-23 cm3 2. 43E-23 cm3
3. 0.67E-23 cm3 4. 0.17E-23 cm3
วิธีคิด สารประกอบกลูโคสฟอสเฟต 1.5 ก. มีปริมาตร
=1 cm3
สารประกอบกลูโคสฟอสเฟต 260 ก. มีปริมาตร
=260/1.5 cm3
ดังนั้น กลูโคสฟอสเฟต 260 ก.=1โมล
สารประกอบกลูโคสฟอสเฟต 6.02E23โมเลกุล มีปริมาตร =260/1.5 cm3
สารประกอบกลูโคสฟอสเฟต 1โมเลกุล มีปริมาตร =260/1.5×6.02E23
=28.79E-23 cm3
=29E-23 cm3 #
13)เพนนิซิลีนมีสูตรเคมีเป็น C16 H18 O4 N2S 100กรัม มีกี่โมเลกุล (C=12,H=1,O=16,N=14,S=32)
1. 6.02E23 2. 3.01E23
3. 1.8E23 4. 1.204E23
วิธีคิด C16 H18 O4 N2S มีมวลโมเลกุล=(12×16)+(1×18)+(16×4)+(14×2)+(32×1)
=192+18+64+28+32
=334
C16 H18 O4 N2s 334×1.66E-24 ก. = 1โมเลกุล
C16 H18 O4 N2S 100ก. =100/334×1.66E-24 โมเลกุล
= 1.8E23 โมเลกุล #
4.กำมะถัน1โมเลกุล ประกอบด้วยกำมะถันกี่อะตอม ถ้ากำมะถันมีมวลโมเลกุล 256.523และมวลอะตอมเท่ากับ32.066 จงแสดงวิธีคิด
ตอบลบวิธีคิด มวลโมเลกุล=มวลอะตอม×จำนวนอะตอม
256.523=32.066×จำนวนอะตอม
จำนวนอะตอม=256.523÷32.066=8
กำมะถัน 1โมเลกุล ประกอบด้วยกำมะถัน8อะตอม#
5.ฟอสฟอรัส 1โมเลกุลมี4อะตอม ถ้ามวลโมเลกุลของฟอสฟอรัสเท่ากับ 123.88จงหามวลอะตอมของฟอสฟอรัส (แสดงวิธีคิด)
วิธีคิด มวลโมเลกุล=มวลอะตอม×จำนวนอะตอม
123.88=มวลอะตอม×4
มวลอะตอม=123.88÷4=30.97
มวลอะตอมของฟอสฟอรัสเท่ากับ 30.97 #
6.สารประกอบ A1 โมเลกุลมีมวล 2.56×10ยกกำลัง-22g จงคำนวณหามวลโมเลกุลของสารประกอบนี้
วิธีคิด มวลโมเลกุลของสารประกอบA=มวลของสารประกอบA1โมเลกุล÷1.66×10ยกกำลัง-24g
=2.56×10ยกกำลัง-22g÷1.66×10ยกกำลัง-24
=1.54×10ยกกำลัง2
มวลโมเลกุลของสารประกอบ A เท่ากับ 154 #
7.จงเรียงมวลโมเลกุลจากมากไปหาน้อย
1)Al(NO3)3มีมวลโมเลกุล=27+3(14+3(16))=213
2)(NH4)3PO4 มีมวลโมเลกุล=3(14+4(1))+31+4(16)=149
3)Ca(H2PO4)2มีมวลโมเลกุล=40+2(2(1)+31+4(16))=234
ตอบ 3>1>2
8.CH4มีมวลโมเลกุลเท่าใด
ตอบ2.24dmยกกำลัง3
โมเลกุล÷6.02×10ยกกำลัง23=ปริมาตร÷22.4
6.02×10ยกกำลัง22÷6.02×10ยกกำลัง23=ปริมาตร÷22.4
ปริมาตร=2.24 dmยกกำลัง3#
นางสาวอัญมณี ลาภยิ่ง เลขที่32 ม.4/1
9.จงหามวลโมเลกุลของสารต่อไปนี้
ตอบลบก.แอสไพริน(C9H8O4)
แนวคิด (12.0107×9)+(1.00794×8)+(15.9994×4)
=180.15742#
ข.กรดแอซีติก (C2H4O2)
แนวคิด (12.0107×2)+(1.00794×4)+(15.9994×2)
=60.05196#
10.วิตามินซี (C6H8O6)มีมวลโมเลกุลเท่าใด
แนวคิด (12.0107×6)+(1.00794×8)+(15.9994×6)
=179.12412#
ตอบ วิตามินซี (C6H8O6)มีมวลโมเลกุลเท่ากับ179.12412
11.มวลโมเลกุลของ กลีเซอรอล (C3H8O3)คือ...
แนวคิด (12.0107×3)+(1.00794×8)+(15.9994×3)
= 92.09382#
นางสาวอัญมณี ลาภยิ่ง เลขที่32 ม.4/1
12.แก๊สคลอรีนตัวอย่างหนัก 71.0 กรัมข้อใดถูกต้อง (มวลอะตอมของ Cl=35.5)
ตอบลบก.24.5ลิตรที่273 K และ101.3kPa
ข.6.02×10ยกกำลัง23อะตอมของคลอรีน
ค.2โมลของอะตอมคลอรีน
ง.2โมลของโมเลกุลคลอรีน
ตอบ ค.
แนวคิด เพราะ1mol Cl2=2mol Cl
=2×6.02×10ยกกำลัง23อะตอม
=22.4 dmยกกำลัง3 at STP
=2×35.5 g
=71 g#
13.จำนวนคลอไรด์ไอออนใน 0.25 โมลของแคลเซียมคลอไรด์เท่าใด
ก.0.50
ข.0.25
ค.3.01×10ยกกำลัง23
ง.1.51×10ยกกำลัง23
ตอบ ค.
เพราะ 1mol CaCl2 จะมีคลอไรด์ไอออน =2mol Cl=2×6.02×10ยกกำลัง23ไอออน
ดังนั้น 0.25 mol CaCl2 จะมีคลอไรด์ไอออน =0.25×2×6.02×10ยกกำลัง23
=3.01×10ยกกำลัง23 ไอออน#
นางสาวอัญมณี ลาภยิ่ง เลขที่32 ม.4/1
14.เมื่อเติมโลหะทองแดงลงในสารละลายกรดซัลฟิวริก สมการใดถูต้อง
ตอบลบก.Cu+H2SO4 ===>CuSO4+SO2+H2O
ข.Cu+2H2SO4 ===>CuSO4+SO2+2H2O
ค.Cu+2H2SO4===>Cu(SO4)2+SO2+2H2O
ง.2Cu+H2SO4===>Cu2SO4+SO2+H2O
ตอบ ข.
เพราะเป็นสมการที่ดุลแล้ว คือ จำนวนของแต่ละอะตอมของธาตุทางซ้ายของสมการเท่ากับทางขวา
👉 Cu+2H2SO4 ===>CuSO4+SO2+2H2O
15.ค่าคงที่การละลายของเกลือเงินสองชนิดเป็นดังนี้
ซิลเวอร์คลอไรด์ (AgCl)Ksp=2.0×10ยกกำลัง-10
ซิลเวอร์คาร์บอเนต (Ag2CO3)Ksp=8.0×10ยกกำลัง-12
การละลายของเกลือเงินในหน่อยโมลต่อลิตรข้อใดถูก
ก.AgClละลายได้มากกว่า Ag2CO3
ข.Ag2CO3ละลายมากกว่า AgCl
ค.AgClละลายได้เท่ากับAg2CO3
ง.AgClและAg2Cl3 ไม่ละลายน้ำ จึงคำนวณไม่ได้
ตอบ ข.
เพราะKspของAgCl =[Ag+]ยกกำลัง2[Cl]
2.0×10ยกกำลัง-10=Xยกกำลัง2
ดังนั้น X=1.414×10ยกกำลัง-5 mol.dmยกกำลัง-3
KspของAg2CO3=[Ag+][CO3 2-]
8×10ยกกำลัง-12=Xยกกำลัง2•X=Xยกกำลัง3
ดังนั้น X=2×10ยกกำลัง-4mol.dmยกกำลัง-3
ดังนั้น
Ag2CO3จะละลายได้มากกว่า AgCl
16.ข้อมูลจากข้อ15. ในสารละลายโซเดียมคลอไรด์ เข้มข้น0.10 โมลต่อลิตร จะละลาย AgCl ได้กี่โมลต่อลิตร
ก.2×10mol.dmยกกำลัง-3
ข.2×10ยกกำลัง-9mol.dmยกกำลัง-3
ค.1.4×10ยกกำลัง-5mol.dmยกกำลัง-3
ง.1.26×10ยกกำลัง-4mol.dmยกกำลัง-3
ตอบ ข.
เพราะ Ksp =[Ag+][Cl-]
2×10ยกกำลัง-10=(X)(0.10)
ดังนั้น k=2×10ยกกำลัง -10÷0.1=2×10ยกกำลัง-9mol.dmยกกำลัง-3#
นางสาวอัญมณี ลาภยิ่ง เลขที่ 32 ม.4/1
ต่อ สุรเชษฐ์...
ตอบลบ14)ถ้ากำมะถันมีมวลอะตอม 32 หมายความว่า
1.กำมะถันอะตอม 32×6.02E-24 กรัม
2.กำมะถันมีมวลอะตอมเป็น 32เท่าของ C-121อะตอม
3.กำมะถัน 1 อะตอม มี มวล 32×1.66E-24กรัม
4.กำมะถัน 1 อะตอม มีมวล 32กรัม
วิธีคิด มวลอะตอมของกำมะถัน=มวลกำมะถัน 1อะตอม/มวล1/2ของ c-121,1อะตอม
32 =มวลของกำมะถัน 1อะตอม/1.66E-23กรัม
ดังนั้น มวลของกำมะถัน 1อะตอม=32×1.66E-23กรัม #
15)ที่อุณหภูมิ 30°C ความดัน 1บรรยากาศ ก๊าซ N2 และน้ำอย่างละ 1 dm3 มีอะไรเท่ากัน
1.จำนวนโมเลกุล 2.มวล
3.จำนวนอะตอม 4.จุดเดือด
วิธีคิด ตามกฎของอาโวคาโดร ก๊าซหรือไอของสารใดๆที่มีปริมาตรเท่ากันที่อุณหภูมิและความดันเดียวกันย่อมมีจำนวนโมเลกุลเท่าๆกัน ส่วนจำนวนอะตอมไม่เท่ากัน เพราะ N2 1โมเลกุล มี 2 อะตอม แต่ H2O 1โมเลกุล มี 3อะตอม #
16)CH 3 OH 64กรัม ประกอบด้วยไฮโดรเจนกี่อะตอม (C=12,H=1,O=16)
1. 8 2. 4.8×10ยกกำลัง24
3. 8.0×10ยกกำลัง24 4. 6.02×10ยกกำลัง23
วิธีคิด มวลโมเลกุล CH2OH =(12×1)+(1×4)+(16×1)
=32
CH2OH 32กรัม =1 โมล
CH2OH 37กรัมประกอบด้วยไฮโดรเจน
=6.02×10ยกกำลัง23×4 อะตอม
CH2OH 64กรัมประกอบด้วยไฮโดรเจน =6.02×10ยกกำลัง23×64/32 อะตอม
ดังนั้น CH2OH 64กรัม ประกอบด้วยไฮโดรเจน =4.8×10ยกกำลัง24 อะตอม #
17)ก๊าซชนิดหนึ่งหนัก 0.2กรัม มีปริมาตร 300 Cm3
และความหน่าแน่นของน้ำเท่ากับ 1กรัม/cm3 น้ำจำนวน 1หยด มีกี่โมล
1. 0.0015 2. 0.0025
3. 0.0037 3. 0.0042
วิธีคิด น้ำ 1 หยด มีปริมาตร = 1 cm3
น้ำ 15 หยด มีปริมาตร = 1/15 cm3
น้ำ 1 cm3 มีมวล = 1 กรัม
น้ำ 15 cm3 มีมวล = 1/15 กรัม
= 1/15/18
=1/15×18
ดังนั้น น้ำ 1หยดมีจำนวนโมล = 0.0037 โมล #
18)จากข้อ 17 น้ำจำนวน 1หยดมีกี่อะตอม
1. 1.8×10ยกกำลัง21 2. 6.68×10ยกกำลัง21
3. 1.2×10ยกกำลัง23 4. 3.2×10ยกกำลัง22
วิธีคิด น้ำ 1โมล มี =3×6.02×10ยกกำลัง23 อะตอม
น้ำ 0.0037โมล มี =3×6.02×10ยกกำลัง23×0.0037 อะตอม
ดังนั้น น้ำ 1หยด มีจำนวนอะตอม =6.68×10ยกกำลัง21 อะตอม #
19)สารประกอบ A มีความหนาแน่น 1.10 g/dm3 ถ้ามวลโมเลกุลของสาร A เท่ากับ 6.022×10ยกกำล้ง8 ปริมาตรเฉลี่ยหนึ่งโมเลกุลของสาร A เท่ากับกี่ cm3
1. 1.10×10ยกกำลัง-15 2. 6.02×10ยกกำลัง8/1.10 3. 1.10/6.02×10ยกกำลัง8
4. 1/1.10×10ยกกำลัง15
วิธีคิด สาร A 1โมล มีมวล =6.02×10ยกกำลัง8×1.66×10ยกกำลัง-24 กรัม
สาร A 1.10กรัม มีปริมาตร =1 cm3
สาร A 6.02×10ยกกำลัง8×1.66×10ยกกำลัง-24 กรัม มีปริมาตร =6.02×10ยกกำลัง8×1.66×10ยกกำลัง-24/1.10 cm3
=1/1.10×10ยกกำลัง-15
=1/1.10×10ยกกำลัง15
ดังนั้น ปริมาตรเฉลี่ยของโมเลกุลของสาร A =1/1.10×10ยกกำลัง15 #
20)ธาตุ A2 5โมเลกุลมีมวลเป็น2เท่าของธาตุ X 2อะตอม ถ้าธาตุ X 1อะตอม มีมวลเท่ากับ 3.32×10ยกกำลัง-23 กรัม มวลอะตอมของธาตุ A มีค่าเท่ากับ
1. 16 2. 8 3. 20 4. 40
วิธีคิด X 2อะตอม มีมวล =3.32×10ยกกำลัง-23×2 กรัม
A2 5โมเลกุล มีมวล =3.32×10ยกกำลัง-23×2×2 กรัม
A2 1โมเลกุล มีมวล =3.32×10ยกกำลัง-23×2×2/5 กรัม
=2.656×10ยกกำลัง-23 กรัม
มวลโมเลกุลของ A2 =2.656×10ยกกำลัง-23/1.66×10ยกกำลัง-24 กรัม
=16
มวลอะตอมของ A =16/2 =8 #
เพิ่มเติม ข้อ4,5หายไป สุรเชษฐ์...
ตอบลบ4)ของเหลว CCl4 จำนวน 10 dm3 มีความหนาแน่น 1.59 g/cm3 จะมี CCl4 กี่โมล (C=12,Cl=35.5)
1. 10.3 2. 40.9 3. 103.2 4. 224.5
วิธีคิด CCl4 มีมวลโมเลกุล =12+35.5×4=154
CCl4 1 1 cm3 มีมวล =1.59×10×1000
=15,900 กรัม
คิดเป็นโมล=15,900/154 =103.25 โมล #
5)ก๊าซอาร์กอน 1500 cm3 ที่ STP หนักกี่กรัม(Ar=39.95)
1. 2.67 2. 2.96 3. 3.42 4. 3.67
วิธีคิด ก๊าซอาร์กอน 22400 cm3 ที่ STP หนัก =39.95 กรัม
ก๊าซอาร์กอน 1500 cm3 ที่ STP หนัก =39.95×1500/22400 กรัม
ดังนั้น ก๊าซอาร์กอน 1500 cm3 ที่ STP หนัก
=2.67 กรัม #
เพิ่มเติม ข้อ4,5หายไป สุรเชษฐ์...
ตอบลบ4)ของเหลว CCl4 จำนวน 10 dm3 มีความหนาแน่น 1.59 g/cm3 จะมี CCl4 กี่โมล (C=12,Cl=35.5)
1. 10.3 2. 40.9 3. 103.2 4. 224.5
วิธีคิด CCl4 มีมวลโมเลกุล =12+35.5×4=154
CCl4 1 1 cm3 มีมวล =1.59×10×1000
=15,900 กรัม
คิดเป็นโมล=15,900/154 =103.25 โมล #
5)ก๊าซอาร์กอน 1500 cm3 ที่ STP หนักกี่กรัม(Ar=39.95)
1. 2.67 2. 2.96 3. 3.42 4. 3.67
วิธีคิด ก๊าซอาร์กอน 22400 cm3 ที่ STP หนัก =39.95 กรัม
ก๊าซอาร์กอน 1500 cm3 ที่ STP หนัก =39.95×1500/22400 กรัม
ดังนั้น ก๊าซอาร์กอน 1500 cm3 ที่ STP หนัก
=2.67 กรัม #
ข้อ1แก๊สหุงต้มถังหนึ่งประกอบด้วยโพรเพน (C3 H8 ) และบิวเทน (C4 H10) ซึ่งมีเศษส่วนโมลของโพเพน เท่ากับ 0.6 และมวลรวมแก๊สเท่ากบั 49.6kg เมื่อเผาไหม้แก๊สหุงต้มในถังนี้อยางสมบูรณ์ ่ จะได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์กี่กิโลกรัม
ตอบลบจากเศษส่วนโมล แสดงวาอัตราส่วนจำนวนโมลของ C3 H8 : C4 H10 เป็น 6: 4
6C3 H8 ---》18CO2
4C4 H10---》 16CO2 6C3
รวมสมการ
H8 + 4C4 H10 ---> 34CO2
49.6 /248=X/748
=149.6#
ข้อ2ในการเตรียมสารละลายมาตรฐาน K2 Cr2 O7 เข้มข้น 1.00x10-5 mol/dm3 ทำได้โดยชัง่ K2
Cr2 O7 บริสุทธิ์ X g ละลายด้วยน้ำกลันและปรับปริมาตรเป็น ่ 100 cm 3 จากนั้นปิ เปตต์สารละลายที่เตรียมได้ 1.00cm 3 ใส่ลงในขวดวัดปริมาตรขนาด 500 cm 3 เติมน้ำ กลันจนถึงขีดวัดปริมาตร ่ แล้วเขยาผสม ให้เข้ากนั X มีค่าเท่าใด
ใช้สูตร
ถ้าแบ่งสารมา 1 cm 3
เติมน้ำจนเป็น = 500cm 3
ดังนั้น ถ้าน้ำสารละลายมา 100 cm 3
เติมน้ำจนเป็น = 50,000 cm 3
C1 V1 = C2 V2
g /M x 1,000= C2 V2
X /294 x 1,000 = 10ยกกำลัง-5 x 50,000
X = 0.147
วิธีทำ
สารละลาย 1,000cm 3 มี K2 Cr2 O7 = 294 x10ยกกำลัง-5 กรัม
นำสารละลายมา 1cm 3 เติมน้ำจนเป็น =500cm3
ถ้านำสารละลายมา 100 cm 3 เติมน้ำ จนเป็น = 50,000 cm 3
50,000 cm 3 มีสาร = X กรัม
ดังนั้น1000cm3มีสาร=X/50กรัม
X/50=294×10ยกกำลัง-5
X = 0.147 กรัม#
ข้อ3 นำสารประกอบ X มา 0.0320 mol ละลายในตัวทำละลาย A ปริมาตร 20cm 3 ได้สารละลายที่มีจุดเยือกแข็ง −10.0 °C และเมื่อสารประกอบ Y มา 2.85g ละลายในตัวทำละลาย A ปริมาตร 20 cm3ได้สารละลายที่มีจุดเยือกแข็ง −2.0 °C ถ้าสาร X และ Y เป็นสารประกอบที่ไม่ระเหยและไม่แตกตัวในตัวทำละลาย A และ A เป็นของเหลวที่มีจุดเยือกแข็ง 6.0 °C มีความหนาแน่น 0.800g/cm 3ข้อใดเป็นมวลโมเลกุลของสาร Y
ใช้สูตร
/\T = mol x 1,000 x K /W2
/\T = W1 x 1,000 x K /W2 x M
/\T/mol = /\T x M /W1
16 /0.032= 8 x M /2.85
M = 178
ลด 16 °C ใส่สาร = 0.032 mol
ลด 8 °C ใส่สาร = 0.016 mol
0.016 mol = 2.85 g
1 mol = 178 g#
ข้อ4 แมกนีเซียมไนไตรด์ (Mg3 N2 ) 4.0g ทำปฏิกิริยากบน้ำ 2.7g ได้แมกนีเซียมออกไซด์ 3.6 g และแอมโมเนียปฏิกิริยานี้มีผลได้ร้อยละเท่าใด
Mg3 N2 + 3 H2O ----> 3 MgO + 2 NH3
4 /100 2.7 /54= x/120
x = 4.8
% ผลได้ = 3.6 x 100/4.8
% ผลได้ = 75 %
ข้อ5 แก๊สผสมซึ่งประกอบด้วย XY2 และ X2 Y4 ที่มีปริมาตรรวม 500cm3 ที่ STP เมื่อนำไปให้ความร้อนสูงพบวา่ X2 Y4 สลายตัวหมด ให้ XY2 ดังสมการ
X2 Y4 (g)-----> XY2 (g) (สมการยังไม่ดุล)
หลังจากการสลายตัว พบวา่ แก๊สทั้งหมดที่ได้มีปริมาตรรวม 800cm3 ที่ STP ข้อใดเป็นร้อยละโดยปริมาตรของ XY2 ในแก๊สผสม
ก่อนเผา XY2 + X2 Y4 มีปริมาตรเป็น a + b = 500cm 3 ........... 1
หลังเผา X2 Y4 สลายตัวให้ปริมาตรเพิ่มเป็น 2 เท่าตามสมการ ดังนั้น a + 2b = 800cm3... 2
2 - 1 b = 300
ดังนั้น a = 200
% XY2 = 200 x 100/500 = 40#
🎉🎉🎉นางสาวชมพูนุช หญีตสำรัต🎉🎉
เลขที่28
🎉🎉นางสาวชมพูนุช หญีตหญีตสำรัต🎉🎉(ต่อ)
ตอบลบข้อ6 สมการแสดงปฏิกิริยาการตกตะกอนอย่างสมบูรณ์เป็นดังนี้
CaCl2(aq) + 2NaOH(aq) → 2NaCl(aq) + Cd(OH)2(s)
เมื่อเติมสารละลาย NaOH เข้มข้น 0.10 โมลต่อลิตรจำนวน 9.0 cm3 ลงในสารละลาย CdCl2 เข้มข้น1.00 โมลต่อลิตร จำนวน 500 cm3 จะได้Cd(OH)2 หนักกี่กรัม (มวลอะตอมของ Cd =112.4, O = 16, H = 1)
molCdCl(OH2)=1/2molNaOH
X/146.4 = 1/2×0.10×9/100
#จะได้Cd(OH2)หนัก =0.9×0.1×146.4/2×1000#
ข้อ7 ธาตุโซเดียม (Na) 10 อะตอม มีมวล 3.82 × 10ยกกำลัง -22 กรัม มวล อะตอม ของธาตุโซเดียม มีค่าเท่าใด
มวลของNa 1 อะตอม = 3.82×10ยกกำลัง-22 g/10
=3.82 ×10 ยกกำลัง-23g
มวลอะตอมของ Na = มวลของ Na1อะตอม(g)/
1/2มวลของ C 1อะตอม(g)
= 3.82 ×10ยกกำลัง-22g/
1.66× 10 ยกกำลัง-24g
=23.0#
ข้อ8 ธาตุแมกนีเซียม (Mg) มีมวลอะตอม 24.3051 ธาตุแมกนีเซียม 1 อะตอมมีมวลเท่าใด
จากสูตร
มวลอะตอมของMg = มวลของ Mg1อะตอม(g)/
1.66 ×10 ยกกำลัง-24(g)
24.305 = มวลของ Mg1อะตอม(g)/
1.66 ×10 ยกกำลัง-24g
มวลของ Mg1อะตอม=24.3051 ×1.66 ×10 ยกกำลัง-24g
=4.03 ×10ยกกำลัง-23g#
ข้อ9 ธาตุแกลเลียม (Ga) มี 2 ไอโซโทป คือ 69Ga
และ 71 Ga และมี ปริมาณร้อยละ 60.16 และ 39.84 ตามลำดับ จงหามวลอะตอมของธาตุแกลเลียม
มวลอะตอมเฉลี่ย = มวลของแต่ละไอโซโทป× ร้อยละในธรรมชาติ/100
มวลอะตอมเฉลี่ยของ Ga
= (69 ×60.16/100)+(71 ×39.84/100)
= 41.5104 + 28.2864
=69.7968#
ข้อ10 มวลอะตอมของธาตุ X เท่ากับ 51.7 ถ้าธาตุ Xประกอบด้วย 2 ไอโซโทปที่มีเลขมวลเท่ากับ 50และ 52 ในธรรมชาติจะมีไอโซโทปของธาตุ X ที่มีเลขมวลเท่ากับ 50 ประมาณร้อยละเท่าใด
กำหนดให้ 50 X มีปริมาณ = X %และ52 X = (100 – X) %
มวลอะตอมเฉลี่ย = มวลของแต่ละไอโซโทป× ร้อยละในธรรมชาติ/100
51.7 = (50 × X) +[52×(100- X)]/100
51.7 = 50X +5,200 - 52X/100
5,170= 5,200 - 2X
2X = 5,200 - 5,170
X = 30/2
=15#
🎉🎉นางสาวชมพูนุช หญีตสำรัต(ต่อ)🎉🎉
ตอบลบ11.สารอย่างหนึ่งประกอบด้วยธาตุคาร์บอนไฮโดรเจน และคลอรีน จากการทดลองเมื่อนำสารนี้มา 125 กรัม วิเคราะห์พบว่ามี C อยู่ 48 กรัม และไฮโดรเจน 6 กรัม สูตรเอมพิริคัลของสารนี้เป็นอย่างไร( กำหนดให้ : C = 12 , H = 1 , Cl = 35.5 )
มวลสารทั้งหมด = 125กรัม , มวล C=48 กรัม , มวล = 6 กรัม
ดังนั้น มวลออกซิเจน O = 125 – 48 – 6 = 71
อัตราส่วน C : H : Cl = 48 : 6 : 71 โดยมวล
= 1428 : 16 : 3751.5 โดยอะตอม
= 4 : 6 : 2
C : H : Cl = 2 : 3 : 1
สูตรเอมพิริคัล คือ C2H3Cl#
12. แก๊สสีน้ำตาลแดง ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญในการเกิดมลพิษในอากาศ ประกอบด้วยไนโตรเจน 2.34 กรัม และ ออกซิเจน 5.34 กรัม จงหาสูตรเอมพิริคัลของแก๊สนี้
จากโจทย์ เราทราบธาตุองค์ประกอบ , น้ำหนักของธาตุแต่ละชนิด
เนื่องจาก มวลอะตอมของ N = 14.00 , มวลอะตอมของ O = 16.00
อัตราส่วน N : O
2.34 : 5.34
0.167 : 0.334
นำตัวน้อยหารตลอดจะได้1.00: 2.00
สูตรเอมพิริคัลของแก๊สนี้ คือ NO2#
13. จงหาสูตรเอมพิริคัลของสารซึ่งประกอบด้วย ฟอสฟอรัส43.7 % และ ออกซิเจน 56.3% โดยน้ำหนัก
สมมติว่า มีสารทั้งหมด100 กรัม
เนื่องจาก มวลอะตอมของ P = 31.00 , มวลอะตอมของ O = 16.00
อัตราส่วน P : O
43.70 : 56.30
1.41 : 3.52
นำเลขตัวน้อยหารตลอด = 1.00 : 2.50
คูณด้วย 2 = 2.00 : 5.0
สูตรเอมพิริคัลของแก๊สนี้ คือ P 2O 5#
14. สาร A เป็นสารบริสุทธิ์ โดยใน 1 โมเลกุลของสารนี้ประกอบด้วยคาร์บอน 27อะตอม คิดเป็นร้อยละโดยมวลของคาร์บอนเท่ากับ 80.50อยากทราบว่าสาร A มีมวลโมเลกุลเท่าไร
สมมุติสารประกอบนี้มีคาร์บอน 27 อะตอม
ดังนั้นเฉพาะมวลคาร์บอน = 27 x 12 = 324
จาก ร้อยละของคาร์บอน = มวลโมเลกุลมวคาร์บอน x 100
80.5 = m 324 x 100
m = 402.5#
15. จงหามวลร้อยละของธาตุ Oใน CuSO4 . 5H2O (Cu = 63.5 , S = 32)
มวลโมเลกุล CuSO4.5H2O = 63.5 + 32 + 4(16) + 5[2(1) + 16]
= 249.5
จะได้มวล O = มวล O x 100
= 144 x 100
= 57.72#
🎉🎉นางสาว ชมพูนุช หญีตสำรัต(ต่อ)🎉🎉
ตอบลบ16. สารประกอบอย่างหนึ่งมีสูตรเป็น X2CO3 . 10 H2O จากการทดลองพบว่า มีมวลน้ำผลึกทั้งหมด 60% มวลอะตอมของ X เท่ากับเท่าใด
สมมติ X มีมวลอะตอม = A
ดังนั้น X2CO3 . 10H2O มีมวลโมเลกุล= 2A + 12 + 48 + 180
= 2A + 240
และ ในโมเลกุลจะมีน้ำอยู่ = 10H2O = 10(18)
= 180
ทีนี้โจทย์บอก X2CO3 . 10H2O มี H2O = 60%
จาก ร้อยละของน้ำ = มวลน้ำ x 100
60 = 180 x 100
A = 30
นั่นคือ X มีมวลอะตอม = 30#
17.
กำหนดไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์( H 2 O 2 )1 โมล จงหาองค์ประกอบของ H 2 O 2 กำหนดให้ มวลโมเลกุลของ H 2O 2 = 34.00
เนื่องจาก H 2 O 2 1 โมล ประกอบด้วย H 2 2โมลโมเลกุล และ O 2 โมลโมเลกุล
ร้อยละองค์ประกอบของ H = มวลอะตอมของ H x 100 =2 x 1.00 x 100 =5.88 %
ร้อยละองค์ประกอบของ O
=มวลอะตอมของO×100
=2 x 16.00 x 100
= 94.11 %#
18.กรดฟอสฟอริก ( H3 PO 4 )เป็นกรดที่ใช้ในการซักล้าง จงคำนวณองค์ประกอบร้อยละโดยมวลของ H , P และ O ของสารนี้
มวลโมเลกุลของ H 3 PO4 = [ 3 x มวลอะตอมของ H ] + [ 1 x มวลอะตอมของ P ] + [ 4 x มวลอะตอมของ O ]
=[ 3 x 1.00 ] + [ 1 x 30.97 ]+[ 4 x 16.00 ]
= 97.97
ร้อยละโดยมวลของ H = มวลอะตอมของ H x 1 00
= 3 x 1.00 x 100
= 3.08 %
ร้อยละโดยมวลของ P = มวลอะตอมของ P x 100
= 1 x 30.97 x 100
= 31.61 %
ร้อยละโดยมวลของ O = มวลอะตอมของ O x 100
= 4 x 16.00 x 100
= 65.31 %
19. การวิเคราะห์สารประกอบอินทรีย์ชนิดหนึ่ง เพื่อหาปริมาณธาตุองค์ประกอบพบว่า มีคาร์บอน 18.23 % ไฮโดรเจน2.11 % และ คลอรีน 80.76 %โดยน้ำหนัก ถ้ามวลโมเลกุลของสารนี้เป็น 135จงหาสูตรโมเลกุล
สมมติว่า มีสารทั้งหมด100 กรัม
เนื่องจาก มวลอะตอมของ C = 12.00 , มวลอะตอมของ H = 1.00 ,
มวลอะตอมของ Cl = 35.50
อัตราส่วน C : H : Cl
18.23 : 2.11 : 80.76
1.52 : 2.11 : 2.27
นำเลขตัวน้อยหารตลอด จะได้
1.00 : 1.40 : 1.50
คูณด้วย 2 2 .00 : 3.00 : 3.00
สูตรเอมพิริคัลของแก๊สนี้ คือ C 2 H 3 Cl 3
จะได้ มวลสูตรเอมพิริคัลของ C 2 H 3 Cl 3 = 133.50
จาก มวลโมเลกุล =( มวลของสูตรเอมพิริคัล ) x n
135.00 = ( 133.50 ) x n
n = 1
สูตรโมเลกุลของแก๊สนี้ คือ C 2H 3 Cl3
20. ถ้านำ C 6 กรัม รวมกับ H 1 กรัม และ S 8 กรัม จะได้สารประกอบชนิดหนึ่งที่มีมวลโมเลกุล 180 กรัม สูตรโมเลกุลของสารประกอบนี้ คือข้อใด
อัตราส่วนโดยมวล C : H : S = 6 : 1 : 8
อัตราส่วนโดยอะตอม
C : H :S = 6 : 1 : 8
= 0.5 : 1 : 0.25
อัตราส่วนโดยอะตอม
C : H : S = 2 : 4 : 1
ดังนั้น สูตรอย่างง่าย = C2H4S
ต่อไป (มวลจากสูตรอย่างง่าย)n = มวลโมเลกุล
(C2H4S)n = 180
60n = 180
n = 3
แสดงว่าสูตรโมเลกุล
= (C2H4S)n = (C2H4S)3 = C6H12S3#
🎉🎉นางสาว ชมพูนุช หญีตสำรัต(ต่อ)🎉🎉
ตอบลบ16. สารประกอบอย่างหนึ่งมีสูตรเป็น X2CO3 . 10 H2O จากการทดลองพบว่า มีมวลน้ำผลึกทั้งหมด 60% มวลอะตอมของ X เท่ากับเท่าใด
สมมติ X มีมวลอะตอม = A
ดังนั้น X2CO3 . 10H2O มีมวลโมเลกุล= 2A + 12 + 48 + 180
= 2A + 240
และ ในโมเลกุลจะมีน้ำอยู่ = 10H2O = 10(18)
= 180
ทีนี้โจทย์บอก X2CO3 . 10H2O มี H2O = 60%
จาก ร้อยละของน้ำ = มวลน้ำ x 100
60 = 180 x 100
A = 30
นั่นคือ X มีมวลอะตอม = 30#
17.
กำหนดไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์( H 2 O 2 )1 โมล จงหาองค์ประกอบของ H 2 O 2 กำหนดให้ มวลโมเลกุลของ H 2O 2 = 34.00
เนื่องจาก H 2 O 2 1 โมล ประกอบด้วย H 2 2โมลโมเลกุล และ O 2 โมลโมเลกุล
ร้อยละองค์ประกอบของ H = มวลอะตอมของ H x 100 =2 x 1.00 x 100 =5.88 %
ร้อยละองค์ประกอบของ O
=มวลอะตอมของO×100
=2 x 16.00 x 100
= 94.11 %#
18.กรดฟอสฟอริก ( H3 PO 4 )เป็นกรดที่ใช้ในการซักล้าง จงคำนวณองค์ประกอบร้อยละโดยมวลของ H , P และ O ของสารนี้
มวลโมเลกุลของ H 3 PO4 = [ 3 x มวลอะตอมของ H ] + [ 1 x มวลอะตอมของ P ] + [ 4 x มวลอะตอมของ O ]
=[ 3 x 1.00 ] + [ 1 x 30.97 ]+[ 4 x 16.00 ]
= 97.97
ร้อยละโดยมวลของ H = มวลอะตอมของ H x 1 00
= 3 x 1.00 x 100
= 3.08 %
ร้อยละโดยมวลของ P = มวลอะตอมของ P x 100
= 1 x 30.97 x 100
= 31.61 %
ร้อยละโดยมวลของ O = มวลอะตอมของ O x 100
= 4 x 16.00 x 100
= 65.31 %
19. การวิเคราะห์สารประกอบอินทรีย์ชนิดหนึ่ง เพื่อหาปริมาณธาตุองค์ประกอบพบว่า มีคาร์บอน 18.23 % ไฮโดรเจน2.11 % และ คลอรีน 80.76 %โดยน้ำหนัก ถ้ามวลโมเลกุลของสารนี้เป็น 135จงหาสูตรโมเลกุล
สมมติว่า มีสารทั้งหมด100 กรัม
เนื่องจาก มวลอะตอมของ C = 12.00 , มวลอะตอมของ H = 1.00 ,
มวลอะตอมของ Cl = 35.50
อัตราส่วน C : H : Cl
18.23 : 2.11 : 80.76
1.52 : 2.11 : 2.27
นำเลขตัวน้อยหารตลอด จะได้
1.00 : 1.40 : 1.50
คูณด้วย 2 2 .00 : 3.00 : 3.00
สูตรเอมพิริคัลของแก๊สนี้ คือ C 2 H 3 Cl 3
จะได้ มวลสูตรเอมพิริคัลของ C 2 H 3 Cl 3 = 133.50
จาก มวลโมเลกุล =( มวลของสูตรเอมพิริคัล ) x n
135.00 = ( 133.50 ) x n
n = 1
สูตรโมเลกุลของแก๊สนี้ คือ C 2H 3 Cl3
20. ถ้านำ C 6 กรัม รวมกับ H 1 กรัม และ S 8 กรัม จะได้สารประกอบชนิดหนึ่งที่มีมวลโมเลกุล 180 กรัม สูตรโมเลกุลของสารประกอบนี้ คือข้อใด
อัตราส่วนโดยมวล C : H : S = 6 : 1 : 8
อัตราส่วนโดยอะตอม
C : H :S = 6 : 1 : 8
= 0.5 : 1 : 0.25
อัตราส่วนโดยอะตอม
C : H : S = 2 : 4 : 1
ดังนั้น สูตรอย่างง่าย = C2H4S
ต่อไป (มวลจากสูตรอย่างง่าย)n = มวลโมเลกุล
(C2H4S)n = 180
60n = 180
n = 3
แสดงว่าสูตรโมเลกุล
= (C2H4S)n = (C2H4S)3 = C6H12S3#
17.สมการเคมีในข้อใดยังไม่ได้ดุล
ตอบลบก.H2SO4 + NaCl ===> NaHSO4 + HCl
ข.NH4Cl + Ca(OH)2 ===> NH3+ 2H2O + CaCl2
ค.H2SO4 + 2NaOH ===> Na2SO4 + 2H2O
ง.2H2 + O2 ===> 2H2O
ตอบ ข.
18.โลหะ M มีมวลอะตอม200เมื่อนำมาเผากับกำมะถันที่มากเกินพอ ปรากฎว่าM หนัก 16.00 g ให้สารประกอบหนัก 19.84 g สูตรอย่างง่ายคือ
วิธีคิด M+S =>MxSy
16÷200 : 3.84÷32 => 19.84
0.08 : 0.12
0.08÷0.08 : 0.12÷0.08
1 : 1.5
2 : 3
ดังนั้นสูตรอย่างง่ายคือ M2S3#
นางสาวอัญมณี ลาภยิ่ง เลขที่32
👉นายชัยวัฒน์ สาตร์สาคร👈
ตอบลบ1.กรดทาทาริก (C4 H6 O6 ) เป็นกรดไดโปรติกที่มีอยูในไวน์ ่ เมื่อนำตัวอยางไวน์ ่ 30.00 cm 3 มาไทเทรตกบั สารละลาย NaOH เข้มข้น 0.100 mol/dm3
พบวาเมื่อใช้สารละลาย ่ NaOH ปริมาตร 20.00 cm 3จะเกิด ปฏิกิริยาอยางสมบูรณ์ ่ ข้อใดเป็นร้อยละโดยมวลต่อปริมาตรของกรดทาทาริกในตัวอยางไวน์นี ้
aC1 V1 = bC2 V2
2 x % x 10 /150 x 30 = 1 x 0.1 x 20
=0.50#
2. จงหาปริมาตรที่ STP ของก๊าซไฮโดรเจนคลอไรด์ (HCl) 7.3 กรัม
โมล = 7.3 g / 36.5 g = 0.2
ก๊าซ HCl 1 โมล มีปริมาตร 22.4 dm 3 ที่ STP
ก๊าซ HCl 0.2 โมล มีปริมาตร 22.4 x 0.2 = 4.48 dm 3 ที่ STP
ดังนั้น ก๊าซไฮโดรเจนคลอไรด์ 7.3 g มีปริมาตร 4.48 dm 3 ที่ STP#
3.จงหามวลโมเลกุลของสารต่อไปนี้
ก. แอสไพริน( C 9H 8O 4 )
เฉลย (12.0107 x 9) + (1.00794 x 8) + (15.9994 x 4) = 180.15742
ข. กรดแอซีติก( C 2H 4O 2 )
เฉลย (12.0107 x 2) + (1.00794 x 4) + (15.9994 x 2) = 60.05196
ค. วิตามินซี( C 6H 8O 6 )
เฉลย (12.0107 x 6) + (1.00794 x 8) + (15.9994 x 6) = 176.12412
ง.กลีเซอรอล( C 3H 8O 3 )
เฉลย (12.0107 x 3) + (1.00794 x 8) + (15.9994 x 3) = 92.09382
4. สารละลายใดที่สามารถละลายในเมธทิลแอลกอฮอลไดดีกวากันระหวางคาร บอนเตตระคลอไรด (CCl4) และแอมโมเนียเพราะเหตุใด
ตอบ “สารจะละลายสารท ี่ คลายกัน” เมธทลแอลกอฮอล ิ (CH3OH) เปนสารประเภทมีขั้วดงนั ั้นจะละลายไดดีกับ สารพวกมีขั้วในที่นี้ NH3 เปนโมเลกลมุ ีขั้วจึงละลายไดดีใน เมธทิลแอลกอฮอล
5. ถาตองการเตรยมสารละลายของ ี KOH 20% โดยปริมาตรจํานวน 100 mL จงหาปริมาตรของ KOH และน้ํา ที่ตองใชในการเตรียมสารน ี้
ตอบ KOH 20% โดยปริมาตร หมายความวา ในสารละลาย 100 mL มี KOH อยู 20 mL ดังน ั้ นจะตองใชน้ําใน การเตรยมสาร ี 100 -20 = 80 mL
👉👉นายชัยวัฒน์ สาตร์สาคร👈👈
ตอบลบ6. ถ้าต้องการเตรียมสารละลายของ KOH 10% โดยปรมาตร ิ จํานวน 100 mL จงหาปริมาตรของ KOH และน้ําที่ต้องใช้ในการ เตรียมสารนี้
ตอบ KOH 10% โดยปริมาตร หมายความว่า ในสารละลาย 100 mL มี KOH อยู่ 10 mL ดังนั้นจะต้องใช้น้ําในการเตรียมสาร 100 -10 = 90 mL
7. สมบัติคอลลิเกทีฟของสารละลายหมายถงอะไร ึ พรอมท ั้ งยกตวอย ั างสมบัติคอลลิเกทีฟมา 1 ชนิด
ตอบ สมบัติคอลลิเกทีฟของสารละลายคือสมบัติทางกายภาพของสารละลายที่ตางจากสมบัติชนิดเดยวก ี ัน ของตัวทําละลายบริสุทธ ิ์และเปนสมบัติที่ขึ้นอยูกับจํานวนอนภาคของต ุ ัวถกละลายแต ู จะไมขึ้นอยูกับชนิด ของตัวถกละลาย ู เชน การลดต ่ํ าลงของความดันไอการสงขู ึ้ นของจุดเดอดื การลดลงของจุดเยือกแข็งและ ความดันออสโมติก
8. จุดเดือดปกติของเบนซีน (C6H6) คือ 80.1 C ถาเติมตัวถูกละลายทไมี่ ระเหย 0.500 mol ลงในเบนซีน 150 g ความดันไอของสารละลายมีคาเทาใดที่อุณหภูมิ 80.1 C
ตอบ P สารละลาย = Xเบนซีน x Pเบนซีน
9. จงหามวลโมเลกุลของ CaSO 4 . 2H 2O กำหนดมวลอะตอมของ Ca = 40, S = 32, O = 16 และ H = 1
มวลโมเลกุลของ CaSO 4 . 2H 2O = มวลอะตอมของทุกธาตุใน CaSO 4 . 2H 2O รวมกัน
= 40+32+(16 x 4)+2(2)+2(16)
= 40+32+64+4+32 = 172
ดังนั้น มวลโมเลกุลของ CaSO 4 . 2H 2O = 172 #
10.สูตรเอมพิริคัลของสารที่ประกอบดวย Na 29.1%, S 40.5% และ O 30.4% โดยน้ําจงหา
จํานวนโมลของ Na = 29.1
23.0 = 1.26
จํานวนโมลของ S = 40.5
32.0 = 1.26
จํานวนโมลของ O = 30.4
16.0 = 1.99
เทียบจํานวนโมลของธาตุที่เปนองคประกอบดวยกัน Na : S : O
1.26 : 1.26 : 1.99
ทําใหเปนอัตราสวนอยางต่ํา (หารตลอดดวย 1.26) 1 : 1 : 1.58
ทําใหเปนเลขจํานวนเต็ม (คูณ 2 ตลอด) 2 : 2 : 3
อัตราสวนจํานวนโมลของ Na : S : O เปน 2 : 2 : 3
ดังนั้น สูตรเอมพิริคัลของสารประกอบนี้คือ Na2S2O3
👉👉นายชัยวัฒน์ สาตร์สาคร👈👈
ตอบลบ11.จงหาน้ําหนักเปนรอยละของ Cu ใน Cu(NO3)2 จํานวน 10.0 กรัม
หามวลโมเลกุลของ Cu(NO3)2 = 187.5 g/mol
Cu(NO3)2 187.5 g มี Cu อยู 63.5 g
ถามี Cu(NO3)2 10.0 g มี Cu =
(63.5 g/mol)×(10.0 g)÷187.5 g/mol g = 3.39
ดังนั้น Cu(NO3)2 10.0 g จะมี Cu อยู 3.39 g
รอยละของ Cu คํานวณไดจาก
Cu(NO3)2 10.0 g จะมี Cu อยู 3.39 g
ดังนั้น Cu(NO3)2 100 g จะมี Cu
3.39g Cu x 100÷ 10.0g Cu(NO )=33.9%#
12.จงหารอยละโดยน้ําหนักของ N, C, H และ O ในยูเรีย (NH2CONH2)
มวลโมเลกุลของ NH2CONH2 = 60.0 g/mol
รอยละของธาตุ N ใน NH2CONH2 =
2 x 14.0g N ÷ 60.0g NH2 CONH2x100 =46.7%
รอยละของธาตุ C ใน NH2CONH2=
1 x 12.0g C ÷60.0g NH2CONH2x100 =20.0%
รอยละของธาตุ H ใน NH2CONH2=
4 x 1 00g H÷ 60.0g NH2CONH2×100=6.67%
รอยละของธาตุ O ใน NH2CONH2=
1 x 16.0g O ÷ 60.0g NH2CONH2×100=26.7%
13.จงคํานวณจํานวนโมลของแกสO2 100ลิตรที่ STP
n ของO2= 100 L / 22.4 L
= 4.46mol
ดังนั้น แกส O2 ปริมาตร 100 ลิตร เทากับ 4.46 โมล
14. จงคํานวณจํานวนโมลของแกสNo2 1ลิตรที่ STP
n ของNO2 = 1 L/ 22.4 L
= 0.045mol
ดังนั้น แกส NO2 ปริมาตร 1 ลิตร เทากับ 0.045 โมล
15.แกส O2 100 กรัม มีปริมาตรกี่ลิตรที่ STP
n ของO2 = 100g O2/32.0g/mol O2
= 3.12mol
ดังนั้น แกส O2 100 g คิดเปน 3.12 mol
จาก O2 1 mol มีปริมาตร = 22.4 L ที่ STP
ถามี O2 3.125 mol จะมีปริมาตร =(3.125 mol)(22.4 L)/1mol=69.9 L#
👉👉นายชัยวัฒน์ สาตร์สาคร👈👈
ตอบลบ16.โพเเทสเซียม 1 อะตอมมีมวล64.7×10ยกกำลัง-24กรัม จะมีมวลอะตอมเท่าไหร
มวลอะตอมK=มวลของK1อะตอม/1.66×10ยกกำลัง-24
มวลอะตอมK = 64.74×10ยกกำลัง-24กรัม/ 1.66×10ยกกำลัง-24
มวลอะตอมของK=39#
17.ธาตุโซเดียม 10 อะตอม มีมวล 3.82x 1o กรัม
มวลอะตอมของค่าโซเดียมมีค่าเท่าใด
มวลของ Na 1 อะตอม =3.82 x 1o-22 /10
= 3.82×10-22g
= 3.82×10-23g / 3.82×10-24g
= 23.01
มวลอะตอมของ Na เท่ากับ 23.01#
18. เมื่อนำเหรียญเงินหนัก 5.59 กรัม ไปละลายในกรดไนตริกแล้วเติมสารละลายโซเดียมคลอไรด์ ลงไป จะได้ตะกอน 6.93 กรัม เหรียญเงินนั้นมีเงินบริสุทธิ์ร้อยละเท่าไร
กำหนดมวลอะตอมของ Cl = 35.5 , Ag = 108 HNO3 NaCl เหรียญเงิน ----> ----> AgCl 5.82 g 6.93 มวลสูตร AgCl = 108 + 35.5 = 143.5 มวล Ag = 108 = x มวล AgCl 143.3 6.93 x = 108X6.93 143.3 x = 5.22 g = มวลของเงินในเหรียญ ร้อยละของเงินในเหรียญ = 5.22 X100 5.59 = 93.38 เหรียญนี้มีเงินบริสุทธิ์ร้อยละ 93.38#
19.จงดุลสมการเคมี Fe(s) + O2(g) ---> Fe2O3(s)
2Fe(s) + O2(g) ---> Fe2O3(s)
ดุล O ซึ่งดานซายมี 2 สวนดานขวามี 3 ใหเติม 3/2 หนา O2
2Fe(s) + 3/2 O2(g) --->Fe2O3(s)
คูณตลอดสมการดวย 2 เพื่อกําจัดเลขสัมประสิทธิ์ที่เปนเศษสวน
4Fe(s) + 3O2(g) ----> 2Fe2O3(s)
👉👉นายชัยวัฒน์ สาตร์สาคร👈👈
ตอบลบ20.จงคํานวณจํานวนโมลของปริมาณสารตอไปนี้
ก) สังกะสี (Zn) หนัก 22.5 กรัม
n ของ Zn=22.5g Zn/65.4g/mol Zn
= 0.344mol
ข) แกสไฮโดรเจนคลอไรด (HCl) หนัก 10.0 กรัม
n ของ HCl = 10.0g HCl /36.5g/mol HCl
= 0.274mol
ค) ซัลเฟตไอออน (SO4 2-) หนัก 40.2 กรัม
n ของ (SO4 2-) =40.2g (SO4 2-) /96.0g/mol (SO4 2-)
= 0.42mol
👉👉นายชัยวัฒน์ สาตร์สาคร👈👈
ตอบลบ16.โพเเทสเซียม 1 อะตอมมีมวล64.7×10ยกกำลัง-24กรัม จะมีมวลอะตอมเท่าไหร
มวลอะตอมK=มวลของK1อะตอม/1.66×10ยกกำลัง-24
มวลอะตอมK = 64.74×10ยกกำลัง-24กรัม/ 1.66×10ยกกำลัง-24
มวลอะตอมของK=39#
17.ธาตุโซเดียม 10 อะตอม มีมวล 3.82x 1o กรัม
มวลอะตอมของค่าโซเดียมมีค่าเท่าใด
มวลของ Na 1 อะตอม =3.82 x 1o-22 /10
= 3.82×10-22g
= 3.82×10-23g / 3.82×10-24g
= 23.01
มวลอะตอมของ Na เท่ากับ 23.01#
18. เมื่อนำเหรียญเงินหนัก 5.59 กรัม ไปละลายในกรดไนตริกแล้วเติมสารละลายโซเดียมคลอไรด์ ลงไป จะได้ตะกอน 6.93 กรัม เหรียญเงินนั้นมีเงินบริสุทธิ์ร้อยละเท่าไร
กำหนดมวลอะตอมของ Cl = 35.5 , Ag = 108 HNO3 NaCl เหรียญเงิน ----> ----> AgCl 5.82 g 6.93 มวลสูตร AgCl = 108 + 35.5 = 143.5 มวล Ag = 108 = x มวล AgCl 143.3 6.93 x = 108X6.93 143.3 x = 5.22 g = มวลของเงินในเหรียญ ร้อยละของเงินในเหรียญ = 5.22 X100 5.59 = 93.38 เหรียญนี้มีเงินบริสุทธิ์ร้อยละ 93.38#
19.จงดุลสมการเคมี Fe(s) + O2(g) ---> Fe2O3(s)
2Fe(s) + O2(g) ---> Fe2O3(s)
ดุล O ซึ่งดานซายมี 2 สวนดานขวามี 3 ใหเติม 3/2 หนา O2
2Fe(s) + 3/2 O2(g) --->Fe2O3(s)
คูณตลอดสมการดวย 2 เพื่อกําจัดเลขสัมประสิทธิ์ที่เปนเศษสวน
4Fe(s) + 3O2(g) ----> 2Fe2O3(s)
19.สารอย่างหนึ่งประกอบด้วยธาตุคาร์บอนไฮโดรเจน และคลอรีน จากการทดลองเมื่อนำสารนี้มา 125 กรัมวิเคราะห์ พบว่ามี C อยู่48 กรัม และไฮโดรเจน6กรัม สูตรเอมพิริคัลของนี้เป็นอย่างไร (กำหนดให้ C:12,H:1,Cl:35.5)
ตอบลบ1.C2H3Cl
2.C8HCl12
3.C4H3Cl2
4.C4H6Cl
ตอบข้อ1.
วิธีทำ มวลสารทั้งหมด=125 กรัม,มวลC=48 กรัม,มวลH=6 กรัม
ดังนั้น มวลออกซิเจน O= 125-48-6=71
อัตราส่วน C:H:Cl= 48:6:71โดยมวล
= 1428 :16 :3751.5 โดยอะตอม
= 4:6:2
C:H:Cl =2:3:1
สูตรเอมพิริคัล คือ C2H3Cl#
20.แก๊สสีน้ำตาลแดง ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญในการเกิดมลพิษในอากาศ แระ กอบ ด้ วน ไนโตรเจน 2.34 กรัมและออกซิเจน5.34 กรัมจงหาสูตรเอมพิริคัลของแก๊สนี้
1.NO2
2.N2O
3.N3O2
4.NO4
ตอบข้อ1
เนื่องจากมวลอะตอมของ N=14.00,O=16.00
อัตราส่วน N:O
2.34÷14 : 5.34÷16 = 0.167:0.334
นำเลขตัวน้อยหารตลอด
0.167÷0.167 : 0.334÷0.167= 1 : 2
สูตรเอมพิริคัลของแก๊สนี้คือ NO2#
นางสาวอัญมณี ลาภยิ่ง เลขที่32
ข้อ 6 (PAT3 ต.ค. 53) เก้าอี้พลาสติกและบรรจุภัณฑ์อาหาร ส่วนใหญ่ท ามาจากพลาสติกชนิดใด
ตอบลบ1. พอลิสไตรีน 2. พอลิโพรพิลีน 3. พอลิไวนิลคลอไรด์ 4. พอลิยูเรียฟอร์มาลดีไฮด์ 5. พอลิเอทิลีน
ตอบข้อ 2
เนื่องจาก ข้อ 1 พอลิสไตรีน นิยมน ามาใช้ท าโฟมบรรจุอาหาร วัสดุลอยน้ า ฉนวนกระติกน้ า ข้อ 2 พอลิโพรพิลีน นิยมน ามาใช้ท าภาชนะบรรจุสารเคมี กระเป๋าเดินทาง โต๊ะ เก้าอี้ ข้อ 3 พอลิไวนิลคลอไรด์ นิยมน ามาใช้ท าท่อน้ า กระดาษปิดผนัง กระเบื้องยางปูพื้น บัตรเครดิต ฉนวนสายหุ้มไฟฟ้า ข้อ 4 พอลิยูเรียฟอร์มาลดีไฮด์ นิยมน ามาใช้ท ากาว เต้าเสียบไฟฟ้า แผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ แผ่นพอร์ไมกา ข้อ 5 พอลิเอทิลีน นิยมน ามาใช้ท าเครื่องใช้ภายในบ้าน ของเล่น ดอกไม้พลาสติก ถุงบรรจุอาหาร ฟิล์ม
ข้อ 7 (PAT3 มี.ค. 54) ข้อใดกล่าว ถูกต้อง ในการเปรียบเทียบคุณสมบัติของเส้นใยไนลอนกับเส้นในฝ้าย ก. เส้นใยฝ้ายยับยากกว่าเส้นใยไนลอน ข. เส้นใยไนลอนซักง่ายและแห้งเร็วกว่าเส้นใยฝ้าย ค. เส้นใยฝ้ายเหมาะกับอากาศเย็น ง. เส้นใยไนลอนทนต่อสารเคมีมากกว่าเส้นใยฝ้าย
1. ก และ ค 2. ก และ ง 3. ข และ ค 4. ค และ ง 5. ข และ ง
ตอบข้อ 5
เนื่องจาก - เส้นใยฝ้ายเป็นเส้นใยธรรมชาติ จึงเป็นเส้นใยที่ดูดซับน้ าง่าย และแห้งช้า เป็นราง่าย หดตัวได้มาก และยับง่าย - เส้นใยไนลอน เป็นเส้นใยสังเคราะห์ สามารถทนต่อจุลินทรีย์ เชื้อรา แบคทีเรียได้ ไม่ยับง่าย แห้งเร็ว และทนต่อสารเคมี พิจารณาตัวเลือก ข้อ ก ผิด เนื่องจาก เส้นใยฝ้ายยับง่ายกว่าเส้นใยไนลอน ข้อ ค ผิด เนื่องจาก เส้นใยไนลอนเหมาะกับอากาศเย็นมากกว่า
ข้อ 8 (PAT3 มี.ค. 54) พลาสติกชนิดใดต่อไปนี้หากน ามาเผาแล้วจะท าให้สภาพแวดล้อมเป็นพิษมากที่สุด
1. พอลิเอทิลีน (PE) 2. พอลิโพรพิลีน (PP) 3. พอลิสไตรีน (PS) 4. พอลิไวนิลคลอไรด์ (PVC) 5. พอลิเอสเตอร์
ตอบข้อ 4
เนื่องจาก เมื่อพอลิไวนิลคลอไรด์ (PVC) ถูกเผา จะท าให้เกิดแก๊ส CO2, CO และ HCl ซึ่งเป็นอันตราย ต่อสุขภาพและเป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม เมื่อแก๊สเหล่านี้เมื่อรวมตัวกับความชื้นในอากาศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการรวมตัวของ HCl กับความชื้นในอากาศได้เป็นกรดไฮโดรคลอริก ซึ่งเป็นกรดแก่ที่มีฤทธิ์การกัดกร่อนสูงมาก
ข้อ 9 (PAT3 ธ.ค. 56) ข้อใด ไม่ใช่ สมบัติของพลาสติกที่ใช้ในการท าขวดน้ าแบบใส (PET) 1. ผลิตจากสารพอลิเอทิลีน เทเรพทาเลท (Polyethylene Terephthalate)
2. จัดเป็นพอลิเมอร์ประเภทเทอร์โมเซท (Thermoset)
3. จัดเป็นพอลิเมอร์ประเภทเทอร์โมพลาสติก (Thermoplastic)
4. เมื่อได้รับความร้อนสามารถคืนรูปเดิม หรือเปลี่ยนรูปได้
5. สามารถรีไซเคิล (Recycle) ได้
ตอบข้อ 2
เนื่องจาก พลาสติก PET ผลิตจากสารพอลิเอทิลีน เทเรพทาเลท (Polyethylene Terephthalate) ซึ่งจัดเป็นพอลิเมอร์ประเภทเทอร์มอพลาสติก ซึ่งมีสมบัติคือ เมื่อได้รับความร้อนจะสามารถ คืนรูปเดิม หรือเปลี่ยนรูปได้ ท าให้สามารถน ากลับมาใช้ใหม่ได้ แต่ข้อที่ 2 มีสมบัติไม่สอดคล้องกับสมบัติของพลาสติก PET จึงตอบตัวเลือกที่ 2
ข้อ 10 (Ent 35) ผลของกระบวนการวัลคาไนเซชันของยางและยางบิวตะไดอีน คือ
ก. เกิดการเชื่อมโยงโมเลกุลของพอลิเมอร์ด้วยสะพานซัลไฟด์
ข. ช่วยท าให้ยางกลับสู่รูปร่างเดิมได้หลังจากได้รับแรงกดหรือแรงดึง
ค. ท าให้ยางทั้งก้อนเชื่อมต่อกันเป็นโมเลกุลเดียว
ง. ท าให้ยางธรรมชาติและยางบิวตะไดอีนมีสมบัติยืดหยุ่นได้ดีเหมือนกัน
คำตอบที่ ถูกต้อง 1. ก ข และ ค เท่านั้น 2. ก ค และ ง เท่านั้น 3. ก ข และ ง เท่านั้น 4. ข ค และ ง เท่านั้น
ตอบข้อ 1
เนื่องจาก กระบวนการวัลคาไนเซชัน (Vulcanization) เป็นกระบวนการที่ช่วยปรับปรุงคุณภาพของ ยางจากการเติมก ามะถัน ท าให้เกิดพันธะโคเวเลนต์ “disulfide linkage” เชื่อมระหว่าง พอลิเมอร์ ท าให้ยางเชื่อมต่อเป็นโมเลกุลเดียวกัน ส่งผลให้ยางมีความยืดหยุ่นสูง แต่ไม่ได้ท า ให้ยางที่ได้มีคุณสมบัติยืดหยุ่นได้ดีเหมือนยางธรรมชาติ
นายชาคริทร์ เหลืองทอง เลขที่ 26
ข้อ 6 (PAT3 ต.ค. 53) เก้าอี้พลาสติกและบรรจุภัณฑ์อาหาร ส่วนใหญ่ท ามาจากพลาสติกชนิดใด 1. พอลิสไตรีน 2. พอลิโพรพิลีน 3. พอลิไวนิลคลอไรด์ 4. พอลิยูเรียฟอร์มาลดีไฮด์ 5. พอลิเอทิลีน
ตอบลบตอบข้อ 2
เนื่องจาก ข้อ 1 พอลิสไตรีน นิยมน ามาใช้ท าโฟมบรรจุอาหาร วัสดุลอยน้ า ฉนวนกระติกน้ า ข้อ 2 พอลิโพรพิลีน นิยมน ามาใช้ท าภาชนะบรรจุสารเคมี กระเป๋าเดินทาง โต๊ะ เก้าอี้ ข้อ 3 พอลิไวนิลคลอไรด์ นิยมน ามาใช้ท าท่อน้ า กระดาษปิดผนัง กระเบื้องยางปูพื้น บัตรเครดิต ฉนวนสายหุ้มไฟฟ้า ข้อ 4 พอลิยูเรียฟอร์มาลดีไฮด์ นิยมน ามาใช้ท ากาว เต้าเสียบไฟฟ้า แผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ แผ่นพอร์ไมกา ข้อ 5 พอลิเอทิลีน นิยมน ามาใช้ท าเครื่องใช้ภายในบ้าน ของเล่น ดอกไม้พลาสติก ถุงบรรจุอาหาร ฟิล์ม
ข้อ 7 (PAT3 มี.ค. 54) ข้อใดกล่าว ถูกต้อง ในการเปรียบเทียบคุณสมบัติของเส้นใยไนลอนกับเส้นในฝ้าย ก. เส้นใยฝ้ายยับยากกว่าเส้นใยไนลอน ข. เส้นใยไนลอนซักง่ายและแห้งเร็วกว่าเส้นใยฝ้าย ค. เส้นใยฝ้ายเหมาะกับอากาศเย็น ง. เส้นใยไนลอนทนต่อสารเคมีมากกว่าเส้นใยฝ้าย
1. ก และ ค 2. ก และ ง 3. ข และ ค 4. ค และ ง 5. ข และ ง
ตอบข้อ 5
เนื่องจาก - เส้นใยฝ้ายเป็นเส้นใยธรรมชาติ จึงเป็นเส้นใยที่ดูดซับน้ าง่าย และแห้งช้า เป็นราง่าย หดตัวได้มาก และยับง่าย - เส้นใยไนลอน เป็นเส้นใยสังเคราะห์ สามารถทนต่อจุลินทรีย์ เชื้อรา แบคทีเรียได้ ไม่ยับง่าย แห้งเร็ว และทนต่อสารเคมี พิจารณาตัวเลือก ข้อ ก ผิด เนื่องจาก เส้นใยฝ้ายยับง่ายกว่าเส้นใยไนลอน ข้อ ค ผิด เนื่องจาก เส้นใยไนลอนเหมาะกับอากาศเย็นมากกว่า
ข้อ 8 (PAT3 มี.ค. 54) พลาสติกชนิดใดต่อไปนี้หากน ามาเผาแล้วจะท าให้สภาพแวดล้อมเป็นพิษมากที่สุด
1. พอลิเอทิลีน (PE) 2. พอลิโพรพิลีน (PP) 3. พอลิสไตรีน (PS) 4. พอลิไวนิลคลอไรด์ (PVC) 5. พอลิเอสเตอร์
ตอบข้อ 4
เนื่องจาก เมื่อพอลิไวนิลคลอไรด์ (PVC) ถูกเผา จะท าให้เกิดแก๊ส CO2, CO และ HCl ซึ่งเป็นอันตราย ต่อสุขภาพและเป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม เมื่อแก๊สเหล่านี้เมื่อรวมตัวกับความชื้นในอากาศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการรวมตัวของ HCl กับความชื้นในอากาศได้เป็นกรดไฮโดรคลอริก ซึ่งเป็นกรดแก่ที่มีฤทธิ์การกัดกร่อนสูงมาก
ข้อ 9 (PAT3 ธ.ค. 56) ข้อใด ไม่ใช่ สมบัติของพลาสติกที่ใช้ในการท าขวดน้ าแบบใส (PET) 1. ผลิตจากสารพอลิเอทิลีน เทเรพทาเลท (Polyethylene Terephthalate) 2. จัดเป็นพอลิเมอร์ประเภทเทอร์โมเซท (Thermoset) 3. จัดเป็นพอลิเมอร์ประเภทเทอร์โมพลาสติก (Thermoplastic) 4. เมื่อได้รับความร้อนสามารถคืนรูปเดิม หรือเปลี่ยนรูปได้ 5. สามารถรีไซเคิล (Recycle) ได้ เนื่องจาก พลาสติก PET ผลิตจากสารพอลิเอทิลีน เทเรพทาเลท (Polyethylene Terephthalate) ซึ่งจัดเป็นพอลิเมอร์ประเภทเทอร์มอพลาสติก ซึ่งมีสมบัติคือ เมื่อได้รับความร้อนจะสามารถ คืนรูปเดิม หรือเปลี่ยนรูปได้ ท าให้สามารถน ากลับมาใช้ใหม่ได้ แต่ข้อที่ 2 มีสมบัติไม่สอดคล้องกับสมบัติของพลาสติก PET จึงตอบตัวเลือกที่ 2
อ 10 (Ent 35) ผลของกระบวนการวัลคาไนเซชันของยางและยางบิวตะไดอีน คือ ก. เกิดการเชื่อมโยงโมเลกุลของพอลิเมอร์ด้วยสะพานซัลไฟด์ ข. ช่วยท าให้ยางกลับสู่รูปร่างเดิมได้หลังจากได้รับแรงกดหรือแรงดึง ค. ท าให้ยางทั้งก้อนเชื่อมต่อกันเป็นโมเลกุลเดียว ง. ท าให้ยางธรรมชาติและยางบิวตะไดอีนมีสมบัติยืดหยุ่นได้ดีเหมือนกัน ค าตอบที่ ถูกต้อง 1. ก ข และ ค เท่านั้น 2. ก ค และ ง เท่านั้น 3. ก ข และ ง เท่านั้น 4. ข ค และ ง เท่านั้น
ตอบข้อ 1
เนื่องจาก กระบวนการวัลคาไนเซชัน (Vulcanization) เป็นกระบวนการที่ช่วยปรับปรุงคุณภาพของ ยางจากการเติมก ามะถัน ท าให้เกิดพันธะโคเวเลนต์ “disulfide linkage” เชื่อมระหว่าง พอลิเมอร์ ท าให้ยางเชื่อมต่อเป็นโมเลกุลเดียวกัน ส่งผลให้ยางมีความยืดหยุ่นสูง แต่ไม่ได้ท า ให้ยางที่ได้มีคุณสมบัติยืดหยุ่นได้ดีเหมือนยางธรรมชาติ
นายชาคริทร์ เหลืองทอง เลขที่ 26
ข้อ 11 (Ent 49) การคัดแยกขยะออกเป็นประเภทต่าง ๆ จะท าให้สะดวกในการก าจัด ถ้าพบสัญลักษณ์ ที่ถังขยะ ขยะในข้อใดควรทิ้งลงไปในถังใบนี้ 1. พรม เต้าเสียบไฟฟ้า แบตเตอรี่ 2. ใบไม้ กระดาษ เศษผ้า 3. ถ่านไฟฉาย เศษแก้ว กาว 4. ขวดน้ าพลาสติก กระดาษ แก้ว
ตอบลบตอบข้อ 4
เนื่องจาก ข้อ 1 ผิด เนื่องจาก เต้าเสียบไฟฟ้าเป็นพลาสติกเทอร์มอเซตไม่สามารถรีไซเคิลได้ ข้อ 2 ผิด เนื่องจาก ใบไม้ไม่จัดเป็นพอลิเมอร์ จึงไม่สามารถทิ้งลงในถังขยะนี้ได้ ข้อ 3 ผิด เนื่องจาก กาวเป็นพลาสติกเทอร์มอเซตไม่สามารถรีไซเคิลได้
ข้อ 12 (Ent 40) พอลิเมอร์ในข้อใดที่สองชนิดแรกเป็นเทอร์โมพลาสติก ซึ่งใช้ท าอวัยวะเทียมใช้อยู่ใน ร่างกายได้ ส่วนพอลิเมอร์ชนิดที่ 3 เป็นเทอร์มอเซตพลาสติกที่ใช้ทั่วไป
1. พอลิไวนิลคลอไรด์ พอลิสไตรีน พอลิยูรีเทน 2. พอลิสไตรีน พอลิโพรพิลีน เมลามีน 3. พอลิยูรีเทน เมลามีน พอลิเอทิลีน 4. พอลิเอทิลีน พอลิโพรพิลีน ฟีนอลฟอร์มาลดีไฮด์
ตอบข้อ 4
เนื่องจาก จากตัวเลือกที่โจทย์ก าหนดให้ สามารถแบ่งประเภทของพลาสติกได้ดังนี้ 1. เทอร์มอพลาสติก ได้แก่ พอลิไวนิลคลอไรด์ พอลิโพรพิลีน พอลิเอทิลีน พอลิสไตรีน 2. พลาสติกเทอร์มอเซต ได้แก่ เมลามีน ฟีนอลฟอร์มาลดีไฮด์ พอลิยูรีเทน พอลิเอทิลีน และพอลิโพรพิลีน เป็นพลาสติกที่ใช้ท าอวัยวะเทียม จึงตอบข้อ 4.
ข้อ 13 (Ent 44) ข้อความใดต่อไปนี้ ผิด ก. พอลิเอทิลีนเป็นเทอร์มอเซตที่โมเลกุลมีการเชื่อมโยงเป็นร่างแห ไม่สามารถน ามาหลอมใหม่ได้ ข. ภาชนะเมลามีนสามารถน ามารีไซเคิล หรือหลอมใช้ใหม่ได้ เพื่อลดมลภาวะ ค. พลาสติกที่มีโครงสร้างโมเลกุลเป็นโซ่ตรง จะอ่อนตัวเมื่อได้รับความร้อนและแข็งตัวเมื่อ ลดอุณหภูมิลงเรียกว่า เทอร์มอพลาสติก ง. เทฟลอนที่ใช้เคลือบภาชนะหุงต้ม เป็นเทอร์มอเซต เนื่องจากทนความร้อนดีมาก และไม่หลอมเหลว
1. ก และ ข เท่านั้น 2. ก ข และ ง เท่านั้น 3. ก ค และ ง เท่านั้น 4. ก ข ค และ ง
ตอบข้อ 2
เนื่องจาก ข้อ ก พอลิเอทิลีนเป็นเทอร์มอพลาสติกที่มีโมเลกุลเชื่อมโยงเป็นเส้นและกิ่ง สามารถน ามาหลอมใหม่ได้ ข้อ ข ภาชนะเมลามีนเป็นพลาสติกประเภทเทอร์มอเซต ไม่สามารถน ามารีไซเคิลได้ ข้อ ง เทฟลอนเป็นเทอร์มอพลาสติก ทนสารเคมีได้ดีทุกช่วงอุณหภูมิ และมีผิวลื่น
ข้อ 14 (Ent 35) ในปัจจุบันภาชนะที่ท าด้วยพลาสติกมีขายอยู่ทั่วไปราคาไม่แพง มีการออกแบบเป็นภาชนะ รูปต่าง ๆ น่าใช้ สีสวยแต่พีวีซีไม่เหมาะจะใช้ท าภาชนะใส่อาหาร เพราะเหตุใด
1. มอนอเมอร์ ซึ่งเป็นสารก่อมะเร็งอาจหลุดออกมาปนในอาหาร 2. พีวีซี เมื่อถูกความร้อนจะสลายให้แก๊สคลอรีนออกมา 3. ในกระบวนการพอลิเมอไรเซชันของพีวีซนีั้น มกีารใช้สารที่มีตะกั่วเจือปนรวมอยู่ด้วย 4. สีที่ฉาบพีวีซี จะไม่ติดแน่น และเมื่อสีนี้หลุดออกจากภาชนะจะเข้าสู่ร่างกายและก่อให้เกิดมะเร็งได้
ตอบข้อ 1
เนื่องจาก ข้อ 1 พีวีซี มีมอนอเมอร์คือ ไวนิลคลอไรด์ซึ่งเป็นสารก่อมะเร็ง ข้อ 2 ผิด เนื่องจาก เมื่อเผาพีวีซีจะได้แก๊ส HCl ข้อ 3 ผิด เนื่องจาก กระบวนการพอลิเมอไรเซชันไม่ใช้สารตะกั่วในการเกิดปฏิกิริยา ข้อ 4 ผิด เนื่องจาก ไม่เกี่ยวข้องกับโทษของพีวีซี
ข้อ 15 (Ent 51) ข้อใดจัดประเภทของพลาสติกได้ ถูกต้อง เทอร์มอพลาสติก พลาสติกเทอร์มอเซต 1. โฟม 2.ถุงพลาสติก 3.กระดาษปิดผนัง 4.ด้ามจับเตารีด 1.เก้าอี้พลาสติก 2.ดอกไม้พลาสติก 3.เต้าเสียบไฟฟ้า 4.ฟิล์มถ่ายภาพ
ตอบข้อ 3
เนื่องจาก จากตัวเลือกที่โจทย์ก าหนดให้ สามารถแบ่งประเภทของพลาสติกได้ดังนี้ 1. เทอร์มอพลาสติก ได้แก่ เก้าอี้พลาสติก (PP) ถุงพลาสติก, ดอกไม้พลาสติก, ฟิล์มถ่ายภาพ (PE) กระดาษปิดผนัง (PVC) 2. พลาสติกเทอร์มอเซต ได้แก่ โฟม (มีทั้งเทอร์มอพลาสติก และพลาสติกเทอร์มอเซต) ด้ามจับเตารีด (เบกาไลต์) เต้าเสียบไฟฟ้า (Polyuria – formaldehyde) พิจารณาตัวเลือก ข้อ 1 ผิด เนื่องจาก โฟมเป็นพลาสติกเทอร์มอเซต เก้าอี้พลาสติกเป็นเทอร์มอพลาสติก ข้อ 2 ผิด เนื่องจาก ดอกไม้พลาสติกเป็นเทอร์มอพลาสติก ข้อ 4 ผิด เนื่องจาก ด้ามจับเตารีดเป็นพลาสติกเทอร์มอเซต ฟิล์มถ่ายภาพเป็นเทอร์มอพลาสติก
นายชาคริทร์ เหลืองทอง เลขที่ 26
ข้อ 16 ข้อใดกล่าวผิด
ตอบลบ1.อัตราการเกิดปฏิกิริยาอาจวัดได้จากปริมาณที่เปลี่ยนไปของสารตั้งต้นหรืของผลิตภัณฑ์ในขณะที่ปฏิกิริยากำลังดำเนินต่อไป
2.ชนิดของสารและความเข้มข้นของสารที่เข้าทำปฏิกิริยาเป็นปัจจัยที่ต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
3.ปฏิกิริยาการเผาไหม้ของก๊าซหุงต้มจัดเป็นปฏิกิริยาดูดความร้อน
4.ปฏิกิริยาสังเคราะห์แสงของพืชจัดเป็นปฏิกิริยาดูดความร้อน
ตอบข้อ 3.
เนื่องจากข้อเป็นการคายความร้อนเพรมการเผาไหม้ของก๊าซหุงต้องเป็นการคายความร้อนเพราะส่งต่อความร้อนให้สิ่งอื่น
ข้อ 17 สารในข้อใดมีความแรงกรดน้อยทีสุด
1.HF 2.HCl 3.HBr 4. HI
ตอบข้อ 1.
เพราะ HF เป็นกรดออ่น
ข้อ 18. สารในข้อใด สามรถบรรจุอยู่ในกระป๋องอลูมิเนียมได้ โดยกัดกร่อนกระป๋องน้อยที่สุด
1.HCl 2.H2SO4 3.HNO3 4.H2O
ตอบข้อ 4.
เนื่องจาก HCl H2SO4 HNO3 เป็นกรด แต่ H2O มีค่าเป็นกลางสามรถกัดกร่อนอลูมิเนียมได้น้อยที่สุด
ข้อ19.หน้าที่หลักสำคัญสองประการของถ่านโค้ง ในกระบวนการข้างต้นคือข้อใด
1.ทำปฏิกิริยาเกิดเป็น CO และ ออกไซด์แร่เหล็ก
2.ทำปฏิกิริยาเกิดเป็น CO2 และเป็นแหล่งความร้อน
3.เป็นแหล่งให้ความร้อน และทำฏิกิริยาตัวรีดิวซ์
4.ถูกทุกข้อ
ตอบข้อ 4.
เนื่องจาก ตัวรีดิวซ์ จ่าย e- ให้ถ่านโค้ง
ข้อ 20. นำ้มันชนิดใดต่อไปนี้ใช้กับเครื่องยนต์ดีเซล
1.ดีโซฮอล
2.ก๊าซโซฮอล
3.E20
4.ถูกทุกข้อ
ตอบข้อ 1.
เนื่องจาก ก๊าซโซฮอลและE20ใช้กับเครื่องยนต์เบนซิน
นายชาคริทร์ เหลืองทอง เลขที่ 26
https://drive.google.com/open?id=1c-sfXdDGeCTtmq0mJo2iRHMbDsujK4hz
ตอบลบนางสาวธิดารัตน์ แก้วคนตรง ม.4/1 เลขที่ 40
ลบ1.ธาตุ A 5 อะตอมหนักเป็น 100 เท่าของ 1/12 ของมวล C – 12 , 1 อะตอม มวลอะตอม ของ A เป็นเท่าใด
ตอบลบวิธีทำ ธาตุ A 5 อะตอม หนัก = 100 เท่าของ 1/12 ของ C- 12 , 1 อะตอม
ธาตุ A 1 อะตอม หนัก = 100/5× 1/12 × 12 × 1.66 × 〖10〗^(-24) กรัม
= 20 × 1.66 × 〖10〗^(-24) กรัม
มวลอะตอมของ A = 20
2. ธาตุ B 10 อะตอมหนักเป็น 100 เท่าของ 1/12 ของ C – 12 , 3 อะตอม มวลอะตอมของ B เป็นเท่าใด
วิธีทำ ธาตุ B 10 อะตอมหนัก = 100 เท่าของ 1/12 ของ C – 12 , 3 อะตอม
ธาตุ B 1 อะตอมหนัก = 100/10 × 1/12 × 3 × 12 × 1.66 × 〖10〗^(-24) กรัม
= 30 × 1.66 × 〖10〗^(-24) กรัม
มวลอะตอมของ B = 30
3. ธาตุ C 25 อะตอม หนักเป็น 500 เท่าของ 0 – 16 , 1 อะตอม มวลอะตอมของ C เป็นเท่าใด
วิธีทำ ธาตุ C 25 อะตอมหนัก = 500 เท่าของ 0 – 16 , 1 อะตอม
ธาตุ C 1 อะตอมหนัก = 500/25 × 16 × 1.66 × 〖10〗^(-24) กรัม
= 320 × 1.66 × 〖10〗^(-24) กรัม
มวลอะตอมของ C = 320
4. ธาตุ D 50 อะตอมหนักเป็น 100 เท่าของ N – 14, 2 โมเลกุล มวลอะตอมของ D เป็นเท่าใด
วิธีทำ ธาตุ D 50 อะตอมหนัก = 100 เท่าของ N – 14, 2 โมเลกุล
= 100 เท่าของ N – 14, 4 อะตอม
(1 โมเลกุลมี 2 อะตอม)
ธาตุ D 1 อะตอมหนัก = 100/50 × 4 × 14 × 1.66 × 〖10〗^(-24) กรัม
= 112 × 1.66 × 〖10〗^(-24)
มวลอะตอม D = 112
5. A และ B เป็นก๊าซซึ่งมีสูตรเป็น A_2 และ B_3 พบว่าเมื่อใช้ A 60 cm^3 ทำปฏิกิรกยาพอดี B 40 cm^3
จะได้ก๊าซ C 60 cm^3 จงหาค่าสูตรของ C
วิธีทำ A_2+ B_3 C (A_X B_Y)
60 40 60 cm^3
3 2 3 cm^3 จาก Gay Lussac
3 2 3 โมเลกุล จาก Avogadro
จะได้ 3A_2+2B_3 3A_2× 2B_3⇒ × = 2 , y = 2
ดังนั้น ก๊าซ C จะมีสูตรโมเลกุล A_2 B_2
6. จากปฏิกิริยา A + 3B 2C เมื่อใช้ A 20 cm^3
ทำปฏิกิริยากับ B 30 cm^3 จะได้ก๊าซ C เท่าใด
จากข้อมูลจะเห็นว่าก๊าซ A เหลือเฟือ ก๊าซ B หมด
เนื่องจาก A : B = 1 : 3 โดยปริมาตร จึงนำก๊าซ B ไปเทียบหาปริมาตรของก๊าซ B : C = 3 : 2 = 30 : x
จะได้ 3/2 = 30/x ⇒ x=20
ดังนั้นปริมาตรของก๊าซ C = 20 cm^3
7. สารชนิดหนึ่ง 25 กรัมประกอบด้วย C 4.95 กรัม N 2.9 กรัม O 16.52 กรัม ที่เหลือเป็น H จงหาสูตรอย่างง่ายของสาร (C = 12, H = 1, N = 14, O = 16)
วิธีทำ ทำอัตราส่วนโมลอะตอม
C : H : O : N = 4.95/12 ∶ 0.63/1 ∶16.52/16 ∶ 2.9/14
= 0.412 : 0.63 : 1.03 : 0.21
= 1.96 : 3.4 : 9.1
= 2 : 3 : 5 : 1
∴ สูตรอย่างง่ายคือ C_2 H_(3 ) O_(5 )N
8. สารประกอบชนิดหนึ่งมีธาตุ C 24.3% CI 71.6% H 4.1% โดยมวล จงหาสูตรอย่างง่ายของสาร (C = 12, H = 1, CI = 35.5)
ตอบลบวิธีทำ ทำอัตราส่วนโมลอะตอม
C : H : CI = 24.3/12 ∶4.1/1 ∶ 71.6/35.5
= 2.025 : 4.1 : 2.017
= 1 : 2 : 1
∴ สูตรอย่างง่ายคือ 〖CH〗_2 CI
9. ธาตุ A 2.8 กรัม มีจำนวนอะตอม 0.30 × 〖10〗^23 อะตอม จงหามวลอะตอมของธาตุ A
วิธีทำ 1. ใช้ความหมาย
ธาตุ A 0.30 × 〖10〗^23 อะตอม หนัก 2.8 กรัม
ธาตุ A 6.02 × 〖10〗^23 อะตอม หนัก (2.8 ×6.02 × 〖10〗^23)/(0.301 × 〖10〗^23 )
ดังนั้นมวลอะตอมของ A = 56
ΙΙ. ใช้สูตร
g/m= N/No ⇒2.8/m = (0.301× 〖10〗^23)/(6.02× 〖10〗^23 )
m = 56
10. จงหาปริมาตรของก๊าซ N_2 O เมื่อมี N อยู่ 3.01 ×〖10〗^22 อะตอม
วิธีทำ 1. v/22.4 × 2 × 6.02 × 〖10〗^22 อะตอม
II. N_2 O 2N
2× v/22.4 = (1 ×3.01 × 〖10〗^22)/(6.02 × 〖10〗^23 )
V = 0.56 〖dm〗^3
11. จงหามวลผลึกจุนสีเมื่อมีน้ำผลึก 0.9 กรัม (Cu = 63 , S = 32 , O = 16)
วิธีทำ ผลึกจุนสีมีสูตร CuSO_4 〖SH〗_2O
I. CuSO_4 〖SH〗_2O SH_2O
S× g/249 = I × 0.9/18
g = 2.49 กรัม
II. g/( 249) × 5 × 18 = 0.9
g = 2.49 กรัม
12. จงหามวลของ Na_2 S_2 O_3 เมื่อมี S อยู่ 1.806 × 〖10〗^22 อะตอม (Na = 23 , S = 32 , O = 16)
วิธีทำ I. g/( 158) ×2 ×6.02 × 〖10〗^23=1.806 × 〖10〗^23
g = 2.37 กรัม
II. Na_2 S_2 O_3 2 S
2 × g/( 158) = 1× (1.806× 〖10〗^22)/(6.02 × 〖10〗^23 )
g = 2.37 กรัม
13. จงหา % ของ O ใน H_3 〖PO〗_4 (P = 31, O = 16)
วิธีทำ % o = (4 O)/(H_(3 ) 〖PO〗_4 ) × 100
= (4 (16))/98 × 100 = 65.31
14.จงหา % H_2 O ใน CaSO_4 2H_2 O
วิธีทำ % H_2o = (2 H_2 O)/(CaSO_4 2H_2 O) × 100
= (2 (18))/(136+(18)) × 100 = 20.93
15. โปรตีนชนิดหนึ่งมี Fe 5.5% พบว่า 1 โมเลกุล ประกอบด้วย Fe 2 อะตอม จงหามวลโมเลกุลของโปนตีน(Fe = 55)
วิธีทำ % Fe = (2 Fe)/สูตร × 100
5.5 = (2 (55))/มวลโมเลกุล × 100
มวลโมเลกุล = 2000
16. จากปฏิกิริยา A + 3B 2C เมื่อใช้ A 20 〖cm〗^3
ทำปฏิกิริยากับ B 30 〖cm〗^3 จะได้ก๊าซ C เท่าใด
วิธีทำ จากข้อมูลจะเห็นว่าก๊าซ A เหลือเฟือ ก๊าซ B หมด
เนื่องจาก A : B = 1 : 3 โดยปริมาตร จึงนำก๊าซ B ไปเทียบหาปริมาตรของก๊าซ C
B : C = 3 : 2 = 30 : x
จะได้ 3/2 = 30/x ⇒ x = 20
ดังนั้นปริมาตรของก๊าซ C = 20 〖cm〗^3
17. จงหาค่า a เมื่อ AgNO_3 〖aH〗_2O มีน้ำผลึกร้อยละ 40 (Ag = 108)
วิธีทำ % H_2O = ( aH_2 O)/(AgNO_3 aH_2 O) × 100
40 = (a (18))/(170+a(18)) × 100
a = 6.29
18.จงหาค่า x เมื่อ XSO_4 〖 SH〗_2O มีน้ำผลึกร้อยละ 30
วิธีทำ % H_2O = ( sH_2 O)/(XSO_4 〖 SH〗_2 O ) × 100
30 = (5 (18))/(X+96+5 (18)) × 100
= (90 ×100)/(X + 186 )
X = 114
19. เมื่อหมักน้ำตาลกลูโคส 3.6 กรัม จะมีก๊าซ 〖 CO〗_2 เกิดขึ้นเมื่อผ่านก๊าซไปยังน้ำปูนใสจะเกิดตะกอนขาวกี่กรัม
(〖 C〗_a=40 ,C=12 ,O=16)
หมัก
〖 C〗_6 〖 H〗_12 〖 O〗_6 2〖 C〗_2 H_(3 )OH + 2C〖 O〗_2
C〖 O〗_2+ Ca(〖 OH )〗_2 CaCO_2 + 〖 H〗_2O
วิธีทำ จากหลักการที่กล่าวมาทำให้ C〖 O〗_2 ทั้ง 2 สมการเท่ากัน จะได้ความสัมพันธ์ดังนี้
〖 C〗_6 〖 H〗_12 〖 O〗_6 = 2CaCO_3
2 × 3.6/180 = 1 × g/100
∴ ตะกอนขาวหนัก = 4 กรัม
20. หินอ่อนก้อนหนึ่งพบว่ามี CaCO_3 90% โดยมวล สามารถทำปฏิกิริยากับสารละลาย HCI S M 100 〖cm〗^3 จนพอดี จงหาน้ำหนักของหินอ่อนก้อนนี้ (Ca = 40, C = 12, O = 16)
วิธีทำ CaCO_3 + 2HCI CaCO_3 + 〖 H〗_2 O+〖 CO〗_2
CaCO_3= 2HCI
2 × g/100 = 1 × (5×100)/1000 ⇒ g = 25 กรัม
CaCO_3 90 กรัม มาจากก้อนหินอ่อน 100 กรัม
25 กรัม มาจากก้อนหินอ่อน (100 ×25)/90
= 27.78 กรัม
สัญลักษณ์บางตัวยังผิดนะคะ
ตอบลบทำการตกตะกอน C0 จากสารตัวอย่างหนัก 0. 80 Kg โดยใช้ Ca (NO) ที่มากเกินพอเกิดตะกอน CaCO, หนัก 0. 20 Kg จงคำนวณหาร้อยละโดยมวลของ Co,” ในสารตัวอย่าง
ตอบลบทำการตกตะกอน C0 จากสารตัวอย่างหนัก 0. 80 Kg โดยใช้ Ca (NO) ที่มากเกินพอเกิดตะกอน CaCO, หนัก 0. 20 Kg องคำนวณหาร้อยละโดยมวลของ Co,” ในสารตัวอย่าง
ตอบลบ